PM2.5: Difference between revisions
No edit summary |
No edit summary |
||
(6 intermediate revisions by the same user not shown) | |||
Line 1: | Line 1: | ||
= PM2.5 = | |||
PM2.5 คือฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน อาจเทียบอย่างง่ายว่ามีขนาดประมาณ 1 ใน 25 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์ เล็กกว่า[[PM10|ฝุ่น PM10]] ถึง 4 เท่า มีทั้งลักษณะเป็นอนุภาคกลม และเป็นเขม่าควัน เป็นมลภาวะทางอากาศที่อันตรายสำหรับมนุษย์ เนื่องจากมีขนาดเล็กจนขนจมูกของมนุษย์นั้นไม่สามารถกรองได้ ค่าฝุ่น PM2.5 วัดโดยใช้หน่วยไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในประเทศไทย ค่ามาตรฐานในบรรยากาศเฉลี่ย 24 ชั่วโมงที่กรมควบคุมมลพิษใช้เป็นมาตรฐานคือ 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร | PM2.5 คือฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน อาจเทียบอย่างง่ายว่ามีขนาดประมาณ 1 ใน 25 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์ เล็กกว่า[[PM10|ฝุ่น PM10]] ถึง 4 เท่า มีทั้งลักษณะเป็นอนุภาคกลม และเป็นเขม่าควัน เป็นมลภาวะทางอากาศที่อันตรายสำหรับมนุษย์ เนื่องจากมีขนาดเล็กจนขนจมูกของมนุษย์นั้นไม่สามารถกรองได้ ค่าฝุ่น PM2.5 วัดโดยใช้หน่วยไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในประเทศไทย ค่ามาตรฐานในบรรยากาศเฉลี่ย 24 ชั่วโมงที่กรมควบคุมมลพิษใช้เป็นมาตรฐานคือ 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร | ||
[[file:Pm2.5.png|400px|thumb|เมืองที่ถูกปกคลมด้วยฝุ่นควัน[1]]] | |||
== แหล่งกำเนิด == | == แหล่งกำเนิด == | ||
แหล่งกำเนิดสำคัญของฝุ่น PM2.5 ที่สำคัญคือ การเผาไหม้เชื้อเพลิง ดังนั้นกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดการเผาไหม้จึงเป็นสาเหตุของการเกิดฝุ่น PM2.5 | แหล่งกำเนิดสำคัญของฝุ่น PM2.5 ที่สำคัญคือ การเผาไหม้เชื้อเพลิง ดังนั้นกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดการเผาไหม้จึงเป็นสาเหตุของการเกิดฝุ่น PM2.5 | ||
Line 19: | Line 19: | ||
ฝุ่น PM2.5 เป็นฝุ่นที่มีขนาดเล็กที่เล็กมาก ไม่สามารถกรองได้ด้วยขนจมูก ทำให้ฝุ่น PM2.5 สามารถเดินทางเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจเข้าไปสู่ถุงลมที่ทำหน้าที่นำออกซิเจนเข้าสู่เม็ดเลือด จึงได้ฝุ่นนำ PM2.5 เข้าไปด้วย ดังนั้นนอกจากฝุ่น PM2.5 จะเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินให้หายใจแล้ว ยังส่งผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดอีกด้วย | ฝุ่น PM2.5 เป็นฝุ่นที่มีขนาดเล็กที่เล็กมาก ไม่สามารถกรองได้ด้วยขนจมูก ทำให้ฝุ่น PM2.5 สามารถเดินทางเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจเข้าไปสู่ถุงลมที่ทำหน้าที่นำออกซิเจนเข้าสู่เม็ดเลือด จึงได้ฝุ่นนำ PM2.5 เข้าไปด้วย ดังนั้นนอกจากฝุ่น PM2.5 จะเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินให้หายใจแล้ว ยังส่งผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดอีกด้วย | ||
===ผลกระทบแบบเฉียบพลัน=== | |||
เมื่อได้รับฝุ่น PM2.5 เข้าไปแล้วจะทำให้เกิดการอักเสบของทางเดินหายใจทั้งส่วนบน (ตา, จมูก, และคอ) และส่วนล่าง (หลอดลม) และทำให้เกิดผิวหนังอักเสบได้ หากมีอาการรุนแรงอาจทำให้เกิดการกำเริบของโรคหืดและถุงลมโป่งพอง ไข้หวัดใหญ่ ปอดอักเสบ หากเป็นโรคหืดและถุงลมโป่งจะทำให้อาการกำเริบ ซึ่งอาจนำไปสู่ภาวะระบบหัวใจล้มเหลวได้ หากฝุ่น PM2.5 ซึมเข้าไปในหลอดเลือดแล้ว อาจส่งผลกระทบให้เกิดภาวะการติดเชื้อในกระแส กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หัวใจล้มเหลว หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน และทำให้หลอดเลือดสมองตีบและแตกได้ | เมื่อได้รับฝุ่น PM2.5 เข้าไปแล้วจะทำให้เกิดการอักเสบของทางเดินหายใจทั้งส่วนบน (ตา, จมูก, และคอ) และส่วนล่าง (หลอดลม) และทำให้เกิดผิวหนังอักเสบได้ หากมีอาการรุนแรงอาจทำให้เกิดการกำเริบของโรคหืดและถุงลมโป่งพอง ไข้หวัดใหญ่ ปอดอักเสบ หากเป็นโรคหืดและถุงลมโป่งจะทำให้อาการกำเริบ ซึ่งอาจนำไปสู่ภาวะระบบหัวใจล้มเหลวได้ หากฝุ่น PM2.5 ซึมเข้าไปในหลอดเลือดแล้ว อาจส่งผลกระทบให้เกิดภาวะการติดเชื้อในกระแส กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หัวใจล้มเหลว หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน และทำให้หลอดเลือดสมองตีบและแตกได้ | ||
===ผลกระทบแบบเรื้อรัง=== | |||
ฝุ่น PM2.5 นั้นสามารถสะสมในร่างกายได้ จึงสามารถส่งผลในระยะยาวได้ด้วย หากสะสมฝุ่น PM2.5 เป็นเวลานานจะส่งผลทำให้ปอดไม่เจริญตามอายุ สมรรถภาพปอดเสื่อมเร็วขึ้น โรคหลอดเลือดทำให้ความจำเสื่อม โรคทางสมองต่าง ๆ โรคเบาหวาน โรคไต และยังเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งอีกด้วย | ฝุ่น PM2.5 นั้นสามารถสะสมในร่างกายได้ จึงสามารถส่งผลในระยะยาวได้ด้วย หากสะสมฝุ่น PM2.5 เป็นเวลานานจะส่งผลทำให้ปอดไม่เจริญตามอายุ สมรรถภาพปอดเสื่อมเร็วขึ้น โรคหลอดเลือดทำให้ความจำเสื่อม โรคทางสมองต่าง ๆ โรคเบาหวาน โรคไต และยังเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งอีกด้วย | ||
Line 33: | Line 33: | ||
*หากอยู่ในบ้าน ควรปิดบ้านให้มิดชิด ไม่มีช่องโหว่ และใช้[[เครื่องกรองอากาศ|เครื่องกรองอากาศ]]เพื่อทำให้คุณภาพอากาศในบ้านดีขึ้นได้โดย | *หากอยู่ในบ้าน ควรปิดบ้านให้มิดชิด ไม่มีช่องโหว่ และใช้[[เครื่องกรองอากาศ|เครื่องกรองอากาศ]]เพื่อทำให้คุณภาพอากาศในบ้านดีขึ้นได้โดย | ||
*หากมีความจำเป็นต้องออกกลางแจ้ง ให้สวม[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากกรองอากาศ]]ที่ได้มาตรฐาน N95, FFP2 หรือ KN95 | *หากมีความจำเป็นต้องออกกลางแจ้ง ให้สวม[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากกรองอากาศ]]ที่ได้มาตรฐาน N95, FFP2 หรือ KN95 | ||
*ให้ปฏิบัติตาม[[ | *ให้ปฏิบัติตาม[[มาตรการป้องกันตัวจากฝุ่นควัน|มาตรการป้องกันตัวจากฝุ่น]] โดยใช้มาตรการแบ่งตาม[[ดัชนีคุณภาพอากาศ|ความรุนแรงของคุณภาพอากาศ]] | ||
== สื่อเพิ่มเติม == | == สื่อเพิ่มเติม == | ||
*Animation จากฝุ่นควันสู่ปัญหาโลกร้อน โดย สภาลมหายใจ | *Animation จากฝุ่นควันสู่ปัญหาโลกร้อน โดย สภาลมหายใจ | ||
**ตอนที่ 1 | **[https://youtu.be/PM6nMgEKz-s ตอนที่ 1] | ||
**ตอนที่ 2 | **[https://youtu.be/0cROXWBBsrw ตอนที่ 2] | ||
**ตอนที่ 3 | **[https://youtu.be/Gmhaxw4BE3M ตอนที่ 3] | ||
== อ้างอิงรูป == | == อ้างอิงรูป == | ||
[1] https://www.freepik.com/premium-photo/concept-pollution-pm2-5-unhealthy-air-pollution-dust-toxic-haze-city_6968371.htm | [1] https://www.freepik.com/premium-photo/concept-pollution-pm2-5-unhealthy-air-pollution-dust-toxic-haze-city_6968371.htm |
Latest revision as of 16:12, 14 June 2022
PM2.5[edit]
PM2.5 คือฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน อาจเทียบอย่างง่ายว่ามีขนาดประมาณ 1 ใน 25 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์ เล็กกว่าฝุ่น PM10 ถึง 4 เท่า มีทั้งลักษณะเป็นอนุภาคกลม และเป็นเขม่าควัน เป็นมลภาวะทางอากาศที่อันตรายสำหรับมนุษย์ เนื่องจากมีขนาดเล็กจนขนจมูกของมนุษย์นั้นไม่สามารถกรองได้ ค่าฝุ่น PM2.5 วัดโดยใช้หน่วยไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในประเทศไทย ค่ามาตรฐานในบรรยากาศเฉลี่ย 24 ชั่วโมงที่กรมควบคุมมลพิษใช้เป็นมาตรฐานคือ 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
แหล่งกำเนิด[edit]
แหล่งกำเนิดสำคัญของฝุ่น PM2.5 ที่สำคัญคือ การเผาไหม้เชื้อเพลิง ดังนั้นกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดการเผาไหม้จึงเป็นสาเหตุของการเกิดฝุ่น PM2.5
- ไอเสียรถยนต์ เนื่องจากรถยนต์หลายชนิดใช้การสันดาปในการขับเคลื่อน
- ไอเสียจากโรงงานไฟฟ้าที่ใช้การเผาไหม้เชื้อเพลิงเป็นแหล่งกำเนิดไฟฟ้า เช่น โรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหิน
- ไอเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ
- การเผาในพื้นที่โล่ง
นอกจากการเผาไหม้ที่เกิดขึ้นจากโรงงานและยานพาหนะแล้ว การเผาไหม้ภายในครัวเรือนก็สามารถเป็นกำเนิดฝุ่นได้เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น
- การเผาใบไม้
- การสูบบุหรี่
- การจุดธูปเทียน
ปัจจัยทางสภาพอากาศนั้นส่งผลต่อความรุนแรงของฝุ่นควัน อย่างเช่น ความกดอากาศที่สูงขึ้น อุณหภูมิและชั้นอุณหภูมิผกผันเป็นต้น
ผลกระทบต่อสุขภาพ[edit]
ฝุ่น PM2.5 เป็นฝุ่นที่มีขนาดเล็กที่เล็กมาก ไม่สามารถกรองได้ด้วยขนจมูก ทำให้ฝุ่น PM2.5 สามารถเดินทางเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจเข้าไปสู่ถุงลมที่ทำหน้าที่นำออกซิเจนเข้าสู่เม็ดเลือด จึงได้ฝุ่นนำ PM2.5 เข้าไปด้วย ดังนั้นนอกจากฝุ่น PM2.5 จะเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินให้หายใจแล้ว ยังส่งผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดอีกด้วย
ผลกระทบแบบเฉียบพลัน[edit]
เมื่อได้รับฝุ่น PM2.5 เข้าไปแล้วจะทำให้เกิดการอักเสบของทางเดินหายใจทั้งส่วนบน (ตา, จมูก, และคอ) และส่วนล่าง (หลอดลม) และทำให้เกิดผิวหนังอักเสบได้ หากมีอาการรุนแรงอาจทำให้เกิดการกำเริบของโรคหืดและถุงลมโป่งพอง ไข้หวัดใหญ่ ปอดอักเสบ หากเป็นโรคหืดและถุงลมโป่งจะทำให้อาการกำเริบ ซึ่งอาจนำไปสู่ภาวะระบบหัวใจล้มเหลวได้ หากฝุ่น PM2.5 ซึมเข้าไปในหลอดเลือดแล้ว อาจส่งผลกระทบให้เกิดภาวะการติดเชื้อในกระแส กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หัวใจล้มเหลว หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน และทำให้หลอดเลือดสมองตีบและแตกได้
ผลกระทบแบบเรื้อรัง[edit]
ฝุ่น PM2.5 นั้นสามารถสะสมในร่างกายได้ จึงสามารถส่งผลในระยะยาวได้ด้วย หากสะสมฝุ่น PM2.5 เป็นเวลานานจะส่งผลทำให้ปอดไม่เจริญตามอายุ สมรรถภาพปอดเสื่อมเร็วขึ้น โรคหลอดเลือดทำให้ความจำเสื่อม โรคทางสมองต่าง ๆ โรคเบาหวาน โรคไต และยังเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งอีกด้วย
กลุ่มที่มีความเสี่ยงที่จะได้รับผลกระทบที่รุนแรงคือ เด็ก สตรีมีครรภ์ เนื่องจากมีภูมิคุ้มกันที่ไม่แข็งแรง และกลุ่มผู้ที่ทำงานกลางแจ้ง เช่น ตำรวจจราจร พ่อค้าแม่ค้าที่ขายของตามฟุตบาท คนงานก่อสร้าง เป็นต้น
การป้องกันตัวจากฝุ่น[edit]
- หลีกเลี่ยงการอยู่กลางแจ้ง แนะนำให้อยู่ภายในอาคารในพื้นที่สามารถป้องกันฝุ่นได้ดี หรือห้องปลอดฝุ่น(Safety Zone)
- หากอยู่ในบ้าน ควรปิดบ้านให้มิดชิด ไม่มีช่องโหว่ และใช้เครื่องกรองอากาศเพื่อทำให้คุณภาพอากาศในบ้านดีขึ้นได้โดย
- หากมีความจำเป็นต้องออกกลางแจ้ง ให้สวมหน้ากากกรองอากาศที่ได้มาตรฐาน N95, FFP2 หรือ KN95
- ให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันตัวจากฝุ่น โดยใช้มาตรการแบ่งตามความรุนแรงของคุณภาพอากาศ