ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2): Difference between revisions

From AirKM
Jump to navigation Jump to search
(Created page with "=== ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ === '''ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)''' เป็นก๊าซที่ไม่มีสี หรืออาจมีสีเหลืองอ่อน ๆ มีรสและกลิ่นที่ระดับความเข้มข้นสูง เกิดจากธรรมชาติและการเผาไหม้เชื้อ...")
 
No edit summary
 
Line 1: Line 1:
=== ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ===
= ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ =
'''ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)''' เป็นก๊าซที่ไม่มีสี หรืออาจมีสีเหลืองอ่อน ๆ มีรสและกลิ่นที่ระดับความเข้มข้นสูง เกิดจากธรรมชาติและการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่มีกำมะถัน (ซัลเฟอร์) เป็นส่วนประกอบ สามารถละลายน้ำได้ดี สามารถรวมตัวกับสารมลพิษอื่นแล้วก่อตัวเป็นอนุภาคฝุ่นขนาดเล็กได้ ก๊าซนี้มีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุตา ผิวหนัง และระบบทางเดินหายใจ หากได้รับเป็นเวลานาน ๆ จะทำให้เป็นโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังได้
'''ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)''' เป็นก๊าซที่ไม่มีสี หรืออาจมีสีเหลืองอ่อน ๆ มีรสและกลิ่นที่ระดับความเข้มข้นสูง เกิดจากธรรมชาติและการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่มีกำมะถัน (ซัลเฟอร์) เป็นส่วนประกอบ สามารถละลายน้ำได้ดี สามารถรวมตัวกับสารมลพิษอื่นแล้วก่อตัวเป็นอนุภาคฝุ่นขนาดเล็กได้ ก๊าซนี้มีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุตา ผิวหนัง และระบบทางเดินหายใจ หากได้รับเป็นเวลานาน ๆ จะทำให้เป็นโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังได้


===แหล่งกำเนิด===
==แหล่งกำเนิด==
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่มีกำมะถัน (ซัลเฟอร์) เป็นส่วน ประกอบ ก๊าซชนิดนี้สามารถละลายนํ้าได้ดี สามารถเปลี่ยน เป็นซัลเพิอร์ไตรออกไซด์ (SO3) และกรดซัลฟิวริก (H2SO4) โดยปฏิกิริยาโพโตเคมีคอลในบรรยากาศ และสามารถรวมตัวกับมลพิษอื่น และก่อตัวเป็นอนุภาค[[PM2.5|ฝุ่นขนาดเล็ก]]ได้
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่มีกำมะถัน (ซัลเฟอร์) เป็นส่วน ประกอบ ก๊าซชนิดนี้สามารถละลายนํ้าได้ดี สามารถเปลี่ยน เป็นซัลเพิอร์ไตรออกไซด์ (SO3) และกรดซัลฟิวริก (H2SO4) โดยปฏิกิริยาโพโตเคมีคอลในบรรยากาศ และสามารถรวมตัวกับมลพิษอื่น และก่อตัวเป็นอนุภาค[[PM2.5|ฝุ่นขนาดเล็ก]]ได้


แหล่งกำเนิดของก๊าซซัลเพิอร์ไดออกไซด์ตาม ธรรมชาติ เซ่น การระเบิดของภูเขาไฟ และแหล่งกำเนิดจาก กิจกรรมของมนุษย์ ได้แก่ การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล ถ่านหิน น้ำมันดีเซล การผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน เป็นต้น
แหล่งกำเนิดของก๊าซซัลเพิอร์ไดออกไซด์ตาม ธรรมชาติ เซ่น การระเบิดของภูเขาไฟ และแหล่งกำเนิดจาก กิจกรรมของมนุษย์ ได้แก่ การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล ถ่านหิน น้ำมันดีเซล การผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน เป็นต้น


===ผลกระทบ===
==ผลกระทบ==
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ มีฤทธิ์กัดกร่อน เป็นก๊าซที่มีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ผิวหนัง และเยื่อบุตา ทำให้เกิดการแสบตา เมื่อเราหายใจเอาก๊าซชนิดนี้เข้าไป จะทำให้ก๊าซละลายในของเหลวในระบบทางเดินหายใจ เกิดเป็นกรดซัลฟิวริกซึ่งจะกัดกร่อนอวัยวะในระบบทางเดินหายใจ หากได้รับเป็นเวลานาน ๆ จะทำให้เป็นโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังได้ นอกจากนี้ก๊าซชนิดนี้ในรูปแบบของฝุ่นละอองยังมี ผลกระทบต่อทัศนวิสัย ทำให้ระยะการมองเห็นลดลง และสามารถกัดกร่อนวัสดุบางชนิด หรือทำลายเซลล์ของพืชได้
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ มีฤทธิ์กัดกร่อน เป็นก๊าซที่มีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ผิวหนัง และเยื่อบุตา ทำให้เกิดการแสบตา เมื่อเราหายใจเอาก๊าซชนิดนี้เข้าไป จะทำให้ก๊าซละลายในของเหลวในระบบทางเดินหายใจ เกิดเป็นกรดซัลฟิวริกซึ่งจะกัดกร่อนอวัยวะในระบบทางเดินหายใจ หากได้รับเป็นเวลานาน ๆ จะทำให้เป็นโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังได้ นอกจากนี้ก๊าซชนิดนี้ในรูปแบบของฝุ่นละอองยังมี ผลกระทบต่อทัศนวิสัย ทำให้ระยะการมองเห็นลดลง และสามารถกัดกร่อนวัสดุบางชนิด หรือทำลายเซลล์ของพืชได้


Line 16: Line 16:
*มาตรฐานเฉลี่ย 1 ปี มีค่าไม่เกิน 0.04 ppm
*มาตรฐานเฉลี่ย 1 ปี มีค่าไม่เกิน 0.04 ppm


===อ่านเพิ่มเติม===
==อ่านเพิ่มเติม==


*[[ดัชนีคุณภาพอากาศ|ดัชนีคุณภาพอากาศ]]
*[[ดัชนีคุณภาพอากาศ|ดัชนีคุณภาพอากาศ]]
*[[มลภาวะทางอากาศ|มลภาวะทางอากาศ]]
*[[มลภาวะทางอากาศ|มลภาวะทางอากาศ]]

Latest revision as of 15:54, 14 June 2022

ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์[edit]

ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี หรืออาจมีสีเหลืองอ่อน ๆ มีรสและกลิ่นที่ระดับความเข้มข้นสูง เกิดจากธรรมชาติและการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่มีกำมะถัน (ซัลเฟอร์) เป็นส่วนประกอบ สามารถละลายน้ำได้ดี สามารถรวมตัวกับสารมลพิษอื่นแล้วก่อตัวเป็นอนุภาคฝุ่นขนาดเล็กได้ ก๊าซนี้มีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุตา ผิวหนัง และระบบทางเดินหายใจ หากได้รับเป็นเวลานาน ๆ จะทำให้เป็นโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังได้

แหล่งกำเนิด[edit]

ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่มีกำมะถัน (ซัลเฟอร์) เป็นส่วน ประกอบ ก๊าซชนิดนี้สามารถละลายนํ้าได้ดี สามารถเปลี่ยน เป็นซัลเพิอร์ไตรออกไซด์ (SO3) และกรดซัลฟิวริก (H2SO4) โดยปฏิกิริยาโพโตเคมีคอลในบรรยากาศ และสามารถรวมตัวกับมลพิษอื่น และก่อตัวเป็นอนุภาคฝุ่นขนาดเล็กได้

แหล่งกำเนิดของก๊าซซัลเพิอร์ไดออกไซด์ตาม ธรรมชาติ เซ่น การระเบิดของภูเขาไฟ และแหล่งกำเนิดจาก กิจกรรมของมนุษย์ ได้แก่ การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล ถ่านหิน น้ำมันดีเซล การผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน เป็นต้น

ผลกระทบ[edit]

ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ มีฤทธิ์กัดกร่อน เป็นก๊าซที่มีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ผิวหนัง และเยื่อบุตา ทำให้เกิดการแสบตา เมื่อเราหายใจเอาก๊าซชนิดนี้เข้าไป จะทำให้ก๊าซละลายในของเหลวในระบบทางเดินหายใจ เกิดเป็นกรดซัลฟิวริกซึ่งจะกัดกร่อนอวัยวะในระบบทางเดินหายใจ หากได้รับเป็นเวลานาน ๆ จะทำให้เป็นโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังได้ นอกจากนี้ก๊าซชนิดนี้ในรูปแบบของฝุ่นละอองยังมี ผลกระทบต่อทัศนวิสัย ทำให้ระยะการมองเห็นลดลง และสามารถกัดกร่อนวัสดุบางชนิด หรือทำลายเซลล์ของพืชได้

การกำหนดค่ามาตรฐานก๊าซซัลเฟอร่ไดออกไซด์ในบรรยากาศในประเทศไทย มี 3 ประเภท คือ

  • มาตรฐานเฉลี่ย 1 ชั่วโมง มีค่าไม่เกิน 0.3 ppm
  • มาตรฐานเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าไม่เกิน 0.12 ppm
  • มาตรฐานเฉลี่ย 1 ปี มีค่าไม่เกิน 0.04 ppm

อ่านเพิ่มเติม[edit]