มาตรการป้องกันตัวจากฝุ่นควัน: Difference between revisions

From AirKM
Jump to navigation Jump to search
No edit summary
No edit summary
Line 11: Line 11:
|26 - 37||ดี||style="color:green"|'''เขียว'''||ทำกิจกรรมกลางแจ้งและท่องเที่ยวได้ตามปกติ||<ol><li>ควรหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้ง เช่น ปั่นจักรยาน/วิ่ง</li> <li>เฝ้าระวังสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น หากมีอาการผิดปกติเช่น ไอบ่อย หายใจลำบาก หายใจถี่ หายใจไม่ออกหายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่นคลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติ หรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li></ol>
|26 - 37||ดี||style="color:green"|'''เขียว'''||ทำกิจกรรมกลางแจ้งและท่องเที่ยวได้ตามปกติ||<ol><li>ควรหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้ง เช่น ปั่นจักรยาน/วิ่ง</li> <li>เฝ้าระวังสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น หากมีอาการผิดปกติเช่น ไอบ่อย หายใจลำบาก หายใจถี่ หายใจไม่ออกหายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่นคลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติ หรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li></ol>
|-
|-
|38 - 50||ปานกลาง||style="color:yellow"|'''เหลือง'''||<ol><li>ควรหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้ง เช่น ปั่นจักรยาน/วิ่ง</li> <li>เฝ้าระวังสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น หากมีอาการผิดปกติเช่น ไอบ่อย หายใจลำบาก หายใจถี่ หายใจไม่ออกหายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่นคลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติ หรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li></ol>||<ol><li>ควรหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้ง เช่น ปั่นจักรยาน/วิ่ง ถ้าจำเป็นต้องออกนอกบ้าน ให้สวมหน้ากากป้องกัน PM2.5</li>  <li>ผู้ที่มีโรคประจำตัว ควรเฝ้าระวังอาการผิดปกติ เช่นไอบ่อย หายใจลำบาก หายใจถี่ หายใจไม่ออกหายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่นคลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติ หรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li></ol>
|38 - 50||ปานกลาง||style="color:yellow"|'''เหลือง'''||<ol><li>ควรหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้ง เช่น ปั่นจักรยาน/วิ่ง</li> <li>เฝ้าระวังสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น หากมีอาการผิดปกติเช่น ไอบ่อย หายใจลำบาก หายใจถี่ หายใจไม่ออกหายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่นคลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติ หรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li></ol>||<ol><li>ควรหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้ง เช่น ปั่นจักรยาน/วิ่ง ถ้าจำเป็นต้องออกนอกบ้าน ให้สวม[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากป้องกัน PM2.5]]</li>  <li>ผู้ที่มีโรคประจำตัว ควรเฝ้าระวังอาการผิดปกติ เช่นไอบ่อย หายใจลำบาก หายใจถี่ หายใจไม่ออกหายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่นคลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติ หรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li></ol>
|-
|-
|51 - 90||เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ||style="color:orange"|'''ส้ม'''||<ol><li>ควรลดหรือจำกัด การทำกิจกรรมนอกบ้านและออกกำลังกายกลางแจ้ง หากจำเป็นต้องออกนอกบ้านให้สวมหน้ากากป้องกัน PM2.5 และเปลี่ยนมาออกกำลังกายในที่ที่ไม่มีฝุ่นละออง</li> <li>หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบากหายใจถี่ หายใจไม่ออก หายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น คลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติหรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li></ol>||<ol><li>ลดเวลาการทำกิจกรรมนอกบ้านและออกกำลังกายกลางแจ้ง ถ้าจำเป็นต้องออกนอกบ้าน ให้สวมหน้ากากป้องกัน PM2.5</li> <li>หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบากหายใจถี่ หายใจไม่ออก หายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น คลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติหรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li> <li>ผู้ที่มีโรคประจำตัว ควรเตรียมยาและอุปกรณ์ที่จำเป็น</li></ol>
|51 - 90||เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ||style="color:orange"|'''ส้ม'''||<ol><li>ควรลดหรือจำกัด การทำกิจกรรมนอกบ้านและออกกำลังกายกลางแจ้ง หากจำเป็นต้องออกนอกบ้านให้สวม[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากป้องกัน PM2.5]] และเปลี่ยนมาออกกำลังกายในที่ที่ไม่มี[[PM2.5|ฝุ่นละออง]]</li> <li>หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบากหายใจถี่ หายใจไม่ออก หายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น คลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติหรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li></ol>||<ol><li>ลดเวลาการทำกิจกรรมนอกบ้านและออกกำลังกายกลางแจ้ง ถ้าจำเป็นต้องออกนอกบ้าน ให้สวม[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากป้องกัน PM2.5]]</li> <li>หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบากหายใจถี่ หายใจไม่ออก หายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น คลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติหรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li> <li>ผู้ที่มีโรคประจำตัว ควรเตรียมยาและอุปกรณ์ที่จำเป็น</li></ol>
|-
|-
|91 ขึ้นไป||มีผลกระทบต่อสุขภาพ||style="color:red"|'''แดง'''||<ol><li>ลดหรืองด การทำกิจกรรมนอกบ้าน หากจำเป็นให้สวมหน้ากากป้องกัน PM2.5</li> <li>งดการออกกำลังกายกลางแจ้ง ให้เปลี่ยนมาออกกำลังกายในที่ที่ไม่มีฝุ่นละออง</li> <li>หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบากหายใจถี่ หายใจไม่ออก หายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น คลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติหรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li></ol>||<ol><li>งดออกนอกบ้านและออกกำลังกายกลางแจ้ง</li> <li>อยู่ในอาคาร ถ้าต้องออกนอกบ้าน ให้สวมหน้ากากป้องกัน PM2.5</li> <li>หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบากหายใจถี่ หายใจไม่ออก หายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น คลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติหรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li> <li>ผู้ที่มีโรคประจำตัว ควรเตรียมยาและอุปกรณ์ที่จำเป็นอย่างน้อย 5 วัน</li></ol>
|91 ขึ้นไป||มีผลกระทบต่อสุขภาพ||style="color:red"|'''แดง'''||<ol><li>ลดหรืองด การทำกิจกรรมนอกบ้าน หากจำเป็นให้สวม[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากป้องกัน PM2.5]]</li> <li>งดการออกกำลังกายกลางแจ้ง ให้เปลี่ยนมาออกกำลังกายในที่ที่ไม่มี[[PM2.5|ฝุ่นละออง]]</li> <li>หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบากหายใจถี่ หายใจไม่ออก หายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น คลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติหรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li></ol>||<ol><li>งดออกนอกบ้านและออกกำลังกายกลางแจ้ง</li> <li>[[ห้องปลอดฝุ่น|อยู่ในอาคาร]] ถ้าต้องออกนอกบ้าน ให้สวม[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากป้องกัน PM2.5]]</li> <li>หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบากหายใจถี่ หายใจไม่ออก หายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น คลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติหรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์</li> <li>ผู้ที่มีโรคประจำตัว ควรเตรียมยาและอุปกรณ์ที่จำเป็นอย่างน้อย 5 วัน</li></ol>
|}
|}
==มาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะก่อนเกิดปัญหาฝุ่นควัน==
องค์การเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติและองค์กรภาคี ได้เสนอกรอบแนวทาง 6 มิติ เพื่อการเตรียมความ พร้อมก่อนเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา ได้แก่ การดําเนินงานเพื่อความปลอดภัย การเรียนรู้ การครอบคลุมถึง เด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการคุ้มครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน จึงมีแนวคิดในการสร้างความ เชื่อมโยงกับมาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเตรียมการก่อนเกิดปัญหา[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] อันจะเป็นการวางแผนที่จะช่วยสร้างเสริมความเข้มแข็งด้านการคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียน นักศึกษา
ความเชื่อมโยง 6 มิติกับมาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเตรียมการก่อนเกิดปัญหา[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] ดังนี้
{|class="wikitable"
!มิติ !! มาตรการเตรียมความพร้อม
|-
|'''ความปลอดภัยจากการลดและป้องกัน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน2.5 ไมครอน''' || <ol><li>ทําความสะอาดห้องเรียน อุปกรณ์และเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น พัดลม เครื่องปรับอากาศ มุ้งลวด ผ้าม่าน แปรงลบกระดานหรือ อื่น ๆ ที่เป็นแหล่งสะสมฝุ่น ให้สะอาด และจัดให้เป็นระเบียบ</li>
<li>จัดให้มีการระบายอากาศภายในห้องเรียน เพื่อให้ผู้ที่อยู่ในห้อง รู้สึกสบายตัว เช่น เปิดประตูหน้าต่างเพื่อถ่ายเทอากาศเปิดพัด ลมหรือเครื่องปรับอากาศเพื่อหมุนเวียนอากาศภายในห้อง หากใช้เครื่องปรับอากาศควรบํารุงรักษาทุก 6 เดือน</li>
<li>จัดสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาเพื่อป้องกัน[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]]เช่น จัดให้มีพื้นที่สีเขียวหรือปลูกต้นไม้ดัก ฝุ่น ทําความสะอาดถนน กําหนดจุดจอดรถหรือการรับส่ง นักเรียน นักศึกษา พร้อมทั้งมีป้ายแสดงการดับเครื่องยนต์ขณะ จอด ไม่จัดกิจกรรมที่ทําให้เกิดฝุ่น รถโรงเรียนไร้ควันดํา ห้ามเผา ทุกชนิด ไม่ใช้เตาถ่านปรุงประกอบอาหาร</li></ol>
|-
|'''การเรียนรู้'''||<ol><li>จัดหาสื่อความรู้เกี่ยวกับ[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]]และ[[การป้องกันตัวจากฝุ่นควัน|การป้องกันตนเอง]] สําหรับนักเรียน นักศึกษา เพื่อใช้ในการเรียน การสอนในรปู แบบต่าง ๆ เช่น วิดีโอแอนิเมชัน โปสเตอร์ แผ่นพับ อินโฟกราฟิกคู่มือเป็นต้นโดยคํานึงถึงกลุ่มนักเรียนนักศึกษา</li>
<li>บูรณาการกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาในการเรียนการสอนปกติ เช่น โครงงานส่งเสริมสุขภาพ การฝึกทักษะใน[[การป้องกันตัวจากฝุ่นควัน|การป้องกันตนเอง]]ง</li>
<li>สื่อสารประชาสัมพันธ์การปฏิบัติตัวเพื่อ[[การป้องกันตัวจากฝุ่นควัน|การป้องกันตนเอง]] สําหรับ นักเรียน นักศึกษา ในรูปแบบเสียงตามสาย บอร์ดประชาสัมพันธ์</li></ol>
|-
|'''การครอบคลุมนักเรียนนักศึกษาทั้ง นักเรียนนักศึกษา ที่มีความบกพร่องทาง สติปัญญา บกพร่องทางการเรียนรู้ บกพร่องด้านพฤติกรรมอารมณ์ บกพร่องทางการได้ยิน บกพร่องทางการพูด มี ภาวะสมาธิสั้นและเด็ก ออทิสติก รวมถึงนักเรียน นักศึกษาในพื้นที่ห่างไกล'''||<ol><li>จัดหาสื่อสร้างความเข้าใจเรื่อง[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] และแนวทางการดูแลตัวเอง โดยคํานึงถึงข้อจํากัดของนักเรียน นักศึกษา</li>
<li>ปรับรูปแบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทการเข้าถึง การเรียนรู้</li></ol>
|-
|'''สวัสดิภาพและการคุ้มครอง'''||<ol><li>จัดเตรียมแผนรองรับด้านการเรียนการสอนในช่วงที่สถานการณ์[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] อยู่ในระดับที่มีผลกระทบต่อ สุขภาพของนักเรียน นักศึกษา</li>
<li>เฝ้าระวังสุขภาพของนักเรียน นักศึกษาและจัดทําทะเบียนนักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยงเพื่อดูแลอย่างใกล้ชิด</li>
<li>เตรียมความพร้อมของห้องพยาบาล เวชภัณฑ์ จัดเตรียมห้อง ปลอดฝุ่นสําหรับเด็กที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง</li></ol>
|-
|'''นโยบาย'''||<ol><li>กําหนดนโยบายและมาตรการในการจัดการ[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] เพื่อลดและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพและ ประกาศนโยบายให้ทราบอย่างทั่วกันและถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เช่น การจัดการด้านความสะอาด รถโรงเรียนไร้ควันดํา การชี้แจงบุคลากรร่วมกันลดหรือเลี่ยงกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองเพิ่ม รวมทั้งจัดโครงการร่วมระหว่างสถานศึกษากับชุมชน</li>
<li>จัดอบรมครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] รวมถึงชี้แจงมาตรการในการจัดการปัญหา[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]]</li>
<li>กําหนดบทบาทหน้าที่ โดยมอบหมายครู ครูอนามัย ทําหน้าที่สังเกตอาการของนักเรียน นักศึกษา ปฐมพยาบาลเบื้องต้นรวมทั้ง มีช่องทางประสานงานกับโรงพยาบาลเพื่อส่งต่อนักเรียน นักศึกษา ในกรณีฉุกเฉินหรือมีอาการรุนแรง</li>
<li>แต่งตั้งแกนนํานักเรียน นักศึกษา เพื่อเป็นอาสาสมัครช่วยดูแล สุขภาพของเพื่อนนักเรียนนักศึกษา</li>
<li>สื่อสารทําความเข้าใจกับผู้ปกครองและนักเรียน นักศึกษา เกี่ยวกับมาตรการในการดูแลและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจาก[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] ผ่านการประชุม ผู้ปกครอง หรือช่องทางติดต่ออื่น</li>
<li>ประเมินมาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนใน ระยะเตรียมการก่อนเกิดปัญหา[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] เพื่อเฝ้าระวังและป้องกัน[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]]</li>
<li>เตรียมความพร้อมระบบการกํากับ ติดตามให้มีการดําเนินงานตาม มาตรการ เพื่อป้องกันการเกิด[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] อย่างเคร่งครัด</li></ol>
|-
|'''การบริหารการเงิน'''||<ol><li>พิจารณาการใช้งบประมาณของสถานศึกษาสําหรับกิจกรรมการ ป้องกันการเกิดและ[[การป้องกันตัวจากฝุ่นควัน|การป้องกันฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน2.5 ไมครอน]] ตามความจําเป็นและเหมาะสม</li>
<li>จัดหา[[การป้องกันตัวจากฝุ่นควัน|วัสดุอุปกรณ์ป้องกันฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] สําหรับนักเรียน นักศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษา เช่น[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากป้องกันฝุ่น]] เป็นต้น (ถ้ามี)</li></ol>
|}
==แนวทางการปฏิบัติระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเกิดสถานการณ์ฝุ่นควัน==
เมื่อช่วงที่สถานการณ์[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] อยู่ในระดับที่[[ดัชนีคุณภาพอากาศ|เกินมาตรฐาน]]และอาจจะมี ผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน นักศึกษา ([[PM2.5|PM2.5]] เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่ามากกว่า 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์ เมตร (มคก./ลบ.ม.)) โดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจาก[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] จึงกําหนดให้มีแนวปฏิบัติระหว่างเปิดภาคเรียน ในระยะเกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน โดยแบ่งเป็นแนวทางทางการปฏิบัติ สําหรับผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้อํานวยการสถานศึกษา ครู/ผู้ดูแล นักเรียน นักศึกษา นักเรียน นักศึกษา/แกนนํานักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ดังนี้
===แนวทางการปฏิบัติสําหรับผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้อํานวยการสถานศึกษา===
#ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการป้องกัน[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอน]]
#สื่อสารประชาสัมพันธ์การลดและป้องกัน[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอน]]เกี่ยวกับนโยบายมาตรการแนวปฏิบัติ ให้แก่ครู นักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง รวมถึงบุคลากรภายในสถานศึกษา
#มีมาตรการในการจัดการ[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอน]]เพื่อลดและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ โดยถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เช่น การจัดการด้านความสะอาด รถโรงเรียนไร้ควันดํา บุคลากรภายใน สถานศึกษาลดหรือเลี่ยงกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองเพิ่มรวมทั้งจัดเตรียมห้องปลอดฝุ่นสําหรับเด็กที่มีความเสี่ยง เช่น มีโรคประจําตัว เป็นต้น
#มีการกํากับติดตามการดําเนินงานตามมาตรการเพื่อป้องกันการเกิดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนอย่างเคร่งครัด
#กรณีที่[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] (PM2.5) เกินมาตรฐานสถานศึกษาควรมีมาตรการที่เข้มงวดยิ่งขึ้น ตาม[[ดัชนีคุณภาพอากาศ|ระดับความเข้มข้น]]ของสถานการณ์ [[PM2.5|PM2.5]] ทั้งนี้ อาจมีการพิจารณาการปิด สถานศึกษาความความเหมาะสมและดุลยพินิจของผู้บริหาร โดยอาจพิจารณาจากองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ '''สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก''' ([[PM2.5|PM2.5]]) '''ลักษณะและสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา และ สถานการณ์ด้านสุขภาพ''' รายละเอียดดังนี้
##'''สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก'''
##*ระดับ [[PM2.5|PM2.5]] มากกว่าหรือเท่ากับ 91 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ติดต่อกัน 3 วันและมีแนวโน้มที่ จะเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง หรือ
##*ระดับ [[PM2.5|PM2.5]] มากกว่าหรือเท่ากับ 151 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
##'''ลักษณะและสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา''' เช่น อยู่ใกล้แหล่งกําเนิดของฝุ่นละออง ลักษณะอาคาร เรียนเป็นอาคารมีลักษณะเปิดโล่ง ไม่มีห้องที่สามารถจัดการให้นักเรียน นักศึกษาอยู่ในห้องปิดได้ ไม่ มีต้นไม้รอบ ๆ บริเวณสถานศึกษา ที่สามารถดัก[[PM2.5|ฝุ่นละออง]]ได้ เป็นต้น
##'''สถานการณ์ด้านสุขภาพ''' เช่น มีนักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษาที่มีอาการท่ีอาจเกี่ยวข้องกับการรับ สัมผัสฝุ่น [[PM2.5|PM2.5]] เช่น แสบตา ตาแดง ผื่นแดง คันตามผิวหนัง ไอ หายใจลําบาก แสบจมูก เลือดกําเดา ไหล จํานวน 10 รายขึ้นไป
ทั้งนี้ อาจพิจารณายกเลิกการเรียนการสอนในระดับชั้นอนุบาลก่อน และหากสถานการณ์ [[PM2.5|PM2.5]] ยังไม่ลดลงให้พิจารณายกเลิกการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ตามลําดับ
===แนวทางการปฏิบัติสําหรับครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา===
#ติดตามสถานการณ์ PM2.5 ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตามช่องทางต่าง ๆ ทุกวันเพื่อหาทางป้องกันให้กับนักเรียน นักศึกษา
#สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาทุกวัน และ สังเกตอาการนักเรียน นักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้าง ดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที
#ควรดูแลเด็กนักเรียน นักศึกษาที่มีโรคประจําตัวอย่างใกล้ชิด หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก ให้รีบพาไปพบแพทย์
#ควรดูแลเด็กให้หลีกเลี่ยงการทํากิจกรรมนอกอาคารในช่วงที่ PM2.5 อยู่ในระดับตั้งแต่สีเขียว (26 - 37 มคก./ลบ.ม.) ขึ้นไป เช่น การเข้าแถวหน้าเสาธง การออกกําลังกายกลางแจ้ง
#จัดเตรียมสํารองหน้ากากป้องกันฝุ่นในสถานศึกษาให้พร้อม
#ปิดประตูหน้าต่างให้มิดชิดเพื่อป้องกันฝุ่นละออง
#งดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด PM2.5 เช่น การเผาใบไม้ เผาขยะ เป็นต้น
#ขอความร่วมมือผู้ปกครองจอดรถรับ-ส่งนอกสถานศึกษาหากจําเป็นต้องนํารถเข้ามาจอดให้ดับเครื่องยนต์ขณะจอดรถ
#ขอความร่วมมือร้านค้าแผงลอยปิ้งย่างโดยใช้เตาไร้ควัน
#ปลูกต้นไม้บริเวณสถานศึกษา หรือจัดสวนแนวต้ัง เพื่อดักฝุ่นละอองและมลพิษอากาศ
===แนวทางการปฏิบัติสําหรับนักเรียน นักศึกษา/แกนนํานักเรียน นักศึกษา===
#สวมหน้ากากป้องกันฝุ่นทุกคร้ังเมื่ออยู่ในท่ีโล่งแจ้ง
#ควรเปลี่ยนหน้ากากอนามัยอันใหม่ทุกวันและทิ้งเมื่อพบว่าหน้ากากชํารุดหรือภายในหน้ากากสกปรก
#หากค่าฝุ่นสูงให้งดการทํากิจกรรมนอกอาคารเรียนหรืออยู่นอกห้องเรียนให้น้อยท่ีสุด
#สังเกตอาการตนเอง หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก รีบแจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา หรือไปห้องพยาบาล
#จัดเวรทําความสะอาดห้องเรียนเพื่อลดการสะสมของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน
#แกนนํานักเรียนนักศึกษาเป็นนักเรียนนักศึกษาอาสาสมัครช่วยดูแลสุขภาพเพื่อนนักเรียนนักศึกษามีบทบาทหน้าท่ีดังนี้
##ติดตามสถานการณ์ PM2.5 ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตามช่องทางต่าง ๆ
##เฝ้าระวังสังเกตอาการของเพื่อนนักเรียน นักศึกษา หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก ให้รีบแจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา หรือพาไปห้องพยาบาล
##ตรวจดูความเรียบร้อยของเพื่อนนักเรียน นักศึกษา ต้องสวมหน้ากากป้องกันฝุ่น หากพบนักเรียนนักศึกษาไม่ได้สวมหน้ากากป้องกันฝุ่น ให้แจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา เพื่อจัดหาหน้ากากสํารองให้สวมใส่
##จัดกิจกรรมสื่อสารให้ความรู้คําแนะนําในการดูแลและป้องกันตนเองแก่เพื่อนนักเรียน นักศึกษา เช่นบอร์ดประชาสัมพันธ์ มุมความรู้ ป้ายแนะนําต่าง ๆ เป็นต้น
##จัดเวรทําความสะอาดห้องเรียนท่ีใช้ร่วมกัน เพื่อลดการสะสมของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน
##สอดส่องกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่น PM2.5 เช่น ติดเครื่องยนต์ขณะจอด เผาขยะ ใช้เตาถ่านปรุงประกอบอาหาร หากพบกิจกรรมดังกล่าวให้แจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา
##เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน เช่น สวมหน้ากากป้องกันฝุ่นเมื่อออกนอกอาคาร โดยถือปฏิบัติเป็นสุขนิสัยกิจวัตรประจําวันอย่างสม่ำเสมอ
===แนวทางการปฏิบัติสําหรับผู้ปกครอง===
#ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลควรติดตามสถานการณ์ PM2.5 ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตาม ช่องทางต่าง ๆ
#ควรดูแลเด็กให้หลีกี่ยงการทํากิจกรรมนอกบ้านในช่วงท่ี PM2.5 อยู่ในระดับตั้งแต่สีเขียว (26 - 37 มคก./ลบ.ม.) ขึ้นไป หากจําเป็นให้ใส่หน้ากากอนามัยป้องกันและอยู่นอกอาคารเท่าท่ีจําเป็น
#จัดหาหน้ากากอนามัยที่ป้องกันฝุ่น PM2.5 ท่ีเหมาะสําหรับเด็กไว้ท่ีบ้าน
#ให้เด็กสวมหน้ากากอนามัยหากต้องออกนอกอาคารขณะท่ีเดินทางเป็นต้น
#ควรให้เด็กดื่มน้ําสะอาดให้เพียงพอ 8-10 แก้วต่อวัน
#ควรปิดประตูหน้าต่างให้มิดชิดและเปิดพัดลมให้อากาศหมุนเวียน
#ปลูกต้นไม้บริเวณบ้านเพื่อดักฝุ่นละอองและมลพิษทางอากาศ
#ลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด PM2.5 เช่น จุดธูป เผากระดาษเงินกระดาษทอง ปิ้งย่างที่ทําให้เกิดควัน การเผาใบไม้ เผาขยะ เป็นต้น
#ไม่จอดรถและติดเครื่องยนต์เป็นเวลานานในบริเวณบ้าน
#สังเกตอาการบุตรหลาน โดยเฉพาะเด็กที่มีโรคประจําตัวอย่างใกล้ชิด หากมีอาการไอจามผิดปกติ น้ํามูกไหล หายใจลําบาก ให้รีบไปพบแพทย์ทันที
==มาตรการในการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ สําหรับสถานศึกษาตามระดับความเสี่ยง==
{|class="wikitable"
!ระดับ PM2.5 (มคก./ลบ.ม.)!! มาตรการสําหรับสถานศึกษา
|-
|'''0–25 '''
'''ดีมาก'''
||'''นักเรียน นักศึกษาทุกคน''' : ทํากิจกรรมได้ตามปกติ
|-
|'''26-37'''
'''ดี'''
||<ol><li>'''นักเรียน นักศึกษาทุกคน''' : ทํากิจกรรมได้ตามปกติ</li>
<li>'''นักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ''' เช่น หอบหืด : ให้พิจารณาลดการเรียนพลศึกษาและกิจกรรมกลางแจ้ง</li></ol>
|-
|'''38-50'''
'''ปานกลาง'''
||<ol><li>'''นักเรียน นักศึกษาทุกคน''' : ลดการทํากิจกรรมนอกอาคาร</li>
<li>'''นักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ เช่น หอบหืด''' : ให้พิจารณายกเว้นการเรียนพลศึกษาและกิจกรรมกลางแจ้ง</li></ol>
'''ครู''' : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาทุกเช้า และสังเกตอาการนักเรียนนักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคือง ตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที
|-
|'''51-90'''
'''เริ่มมีผลกระทบต่อ สุขภาพ'''
||<ol><li>'''นักเรียน นักศึกษาทุกคน''' : ควรเรียนในชั้นเรียน สําหรับกิจกรรมกลางแจ้งอื่นๆ อาจจะได้รับการพิจารณายกเลิกตามความเหมาะสม</li>
<li>'''นักเรียนชั้นอนุบาล''' : <ol><li>ให้เรียนในห้องเรียนที่จัดเป็นห้องปลอดฝุ่น เข้าแถวในชั้นเรียน</li>
<li>ยกเลิกการออกกําลังกายกลางแจ้ง</li>
<li>สําหรับกิจกรรมกลางแจ้งอื่นๆ และอาจจะได้รับการพิจารณายกเลิกตามความเหมาะสม</li></ol>
<li>'''นักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ''' เช่น หอบหืด ควรให้อยู่ภายในอาคารในห้องปลอดฝุ่น งดการออกกําลังกาย กลางแจ้ง และต้องได้รับการดูแลจากครูอย่างใกล้ชิด</li></ol>
'''ครู''' : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงเช้า / บ่าย และสังเกตอาการนักเรียน นักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแล อย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที
|-
|'''91 ขึ้นไป'''
'''มีผลกระทบต่อ สุขภาพ'''
||<ol><li>'''นักเรียน นักศึกษาทุกคน''' :
<ol><li>ควรอยู่ภายในอาคาร หรือห้องเรียน และปิดประตูและหน้าต่างให้สนิท</li>
<li>ลดระยะเวลาการทํากิจกรรมกลางแจ้ง เช่น การเข้าแถวหน้าเสาธง และการออกกําลังกายกลางแจ้ง นักเรียน นักศึกษาสามารถออกมาพักในช่วงพักระหว่างคาบเรียนหรือพักกลางวันได้ แต่ไม่ควรอยู่กลางแจ้งเป็นเวลานาน</li></ol>
<li>'''เด็กเรียนชั้นอนุบาลและนักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ:'''
<ol><li>ควรอยู่ภายในอาคาร หรือห้องเรียนที่มีประตูและหน้าต่างปิดสนิท หรือห้องปลอดฝุ่นที่มีเครื่องปรับอากาศ/เครื่องฟอกอากาศ</li>
<li>งดการทํากิจกรรมหรือออกกําลังกาย</li>
<li>ต้องได้รับการดูแลจากครูอย่างใกล้ชิด</li></ol></ol>
'''ครู''' : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงเช้า/ เที่ยง/ บ่าย และสังเกตอาการนักเรียน นักศึกษาหากมีอาการ ผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที
|}
==สื่อเพิ่มเติม==
*[https://www.youtube.com/watch?v=R6Yls2j1hi4&ab_channel=HealthImpactAssessmentHIA วิธีปฏิบัติเพื่อป้องกัน PM2.5]
*[https://www.youtube.com/watch?v=8TBShTTyXfg&ab_channel=HealthImpactAssessmentHIA การป้องกันตัวจาก PM2.5 สำหรับกลุ่มเสี่ยง]
*[https://www.youtube.com/watch?v=MrvpZnUFAvw&ab_channel=HealthImpactAssessmentHIA การออกกำลังกายในภาวะฝุ่น PM2.5]

Revision as of 14:23, 14 June 2022

มาตรการป้องกันตัวจากฝุ่น

กรมอนามัยได้ประกาศมาตรการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดเล็กในบรรยากาศ โดยแบ่งตามสีไว้ดังนี้

ระดับ PM2.5 เฉลี่ย24 ชม. (มคก./ลบม.) ระดับ สีที่ใช้ คำแนะนำในการปฏิบัติตนสำหรับประชาชน
ประชาชนทั่วไป เด็กเล็ก หญิงตั้งครรถ์ ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจำตัว
0 - 25 ดีมาก ฟ้า ทำกิจกรรมกลางแจ้งและท่องเที่ยวได้ตามปกติ ทำกิจกรรมกลางแจ้งและท่องเที่ยวได้ตามปกติ
26 - 37 ดี เขียว ทำกิจกรรมกลางแจ้งและท่องเที่ยวได้ตามปกติ
  1. ควรหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้ง เช่น ปั่นจักรยาน/วิ่ง
  2. เฝ้าระวังสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น หากมีอาการผิดปกติเช่น ไอบ่อย หายใจลำบาก หายใจถี่ หายใจไม่ออกหายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่นคลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติ หรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์
38 - 50 ปานกลาง เหลือง
  1. ควรหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้ง เช่น ปั่นจักรยาน/วิ่ง
  2. เฝ้าระวังสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น หากมีอาการผิดปกติเช่น ไอบ่อย หายใจลำบาก หายใจถี่ หายใจไม่ออกหายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่นคลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติ หรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์
  1. ควรหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้ง เช่น ปั่นจักรยาน/วิ่ง ถ้าจำเป็นต้องออกนอกบ้าน ให้สวมหน้ากากป้องกัน PM2.5
  2. ผู้ที่มีโรคประจำตัว ควรเฝ้าระวังอาการผิดปกติ เช่นไอบ่อย หายใจลำบาก หายใจถี่ หายใจไม่ออกหายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่นคลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติ หรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์
51 - 90 เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ ส้ม
  1. ควรลดหรือจำกัด การทำกิจกรรมนอกบ้านและออกกำลังกายกลางแจ้ง หากจำเป็นต้องออกนอกบ้านให้สวมหน้ากากป้องกัน PM2.5 และเปลี่ยนมาออกกำลังกายในที่ที่ไม่มีฝุ่นละออง
  2. หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบากหายใจถี่ หายใจไม่ออก หายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น คลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติหรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์
  1. ลดเวลาการทำกิจกรรมนอกบ้านและออกกำลังกายกลางแจ้ง ถ้าจำเป็นต้องออกนอกบ้าน ให้สวมหน้ากากป้องกัน PM2.5
  2. หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบากหายใจถี่ หายใจไม่ออก หายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น คลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติหรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์
  3. ผู้ที่มีโรคประจำตัว ควรเตรียมยาและอุปกรณ์ที่จำเป็น
91 ขึ้นไป มีผลกระทบต่อสุขภาพ แดง
  1. ลดหรืองด การทำกิจกรรมนอกบ้าน หากจำเป็นให้สวมหน้ากากป้องกัน PM2.5
  2. งดการออกกำลังกายกลางแจ้ง ให้เปลี่ยนมาออกกำลังกายในที่ที่ไม่มีฝุ่นละออง
  3. หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบากหายใจถี่ หายใจไม่ออก หายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น คลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติหรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์
  1. งดออกนอกบ้านและออกกำลังกายกลางแจ้ง
  2. อยู่ในอาคาร ถ้าต้องออกนอกบ้าน ให้สวมหน้ากากป้องกัน PM2.5
  3. หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบากหายใจถี่ หายใจไม่ออก หายใจมีเสียงวี้ด แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น คลื่นไว้ เมื่อยล้าผิดปกติหรือวิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์
  4. ผู้ที่มีโรคประจำตัว ควรเตรียมยาและอุปกรณ์ที่จำเป็นอย่างน้อย 5 วัน

มาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะก่อนเกิดปัญหาฝุ่นควัน

องค์การเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติและองค์กรภาคี ได้เสนอกรอบแนวทาง 6 มิติ เพื่อการเตรียมความ พร้อมก่อนเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา ได้แก่ การดําเนินงานเพื่อความปลอดภัย การเรียนรู้ การครอบคลุมถึง เด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการคุ้มครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน จึงมีแนวคิดในการสร้างความ เชื่อมโยงกับมาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเตรียมการก่อนเกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน อันจะเป็นการวางแผนที่จะช่วยสร้างเสริมความเข้มแข็งด้านการคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียน นักศึกษา

ความเชื่อมโยง 6 มิติกับมาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเตรียมการก่อนเกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ดังนี้

มิติ มาตรการเตรียมความพร้อม
ความปลอดภัยจากการลดและป้องกัน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน2.5 ไมครอน
  1. ทําความสะอาดห้องเรียน อุปกรณ์และเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น พัดลม เครื่องปรับอากาศ มุ้งลวด ผ้าม่าน แปรงลบกระดานหรือ อื่น ๆ ที่เป็นแหล่งสะสมฝุ่น ให้สะอาด และจัดให้เป็นระเบียบ
  2. จัดให้มีการระบายอากาศภายในห้องเรียน เพื่อให้ผู้ที่อยู่ในห้อง รู้สึกสบายตัว เช่น เปิดประตูหน้าต่างเพื่อถ่ายเทอากาศเปิดพัด ลมหรือเครื่องปรับอากาศเพื่อหมุนเวียนอากาศภายในห้อง หากใช้เครื่องปรับอากาศควรบํารุงรักษาทุก 6 เดือน
  3. จัดสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาเพื่อป้องกันฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนเช่น จัดให้มีพื้นที่สีเขียวหรือปลูกต้นไม้ดัก ฝุ่น ทําความสะอาดถนน กําหนดจุดจอดรถหรือการรับส่ง นักเรียน นักศึกษา พร้อมทั้งมีป้ายแสดงการดับเครื่องยนต์ขณะ จอด ไม่จัดกิจกรรมที่ทําให้เกิดฝุ่น รถโรงเรียนไร้ควันดํา ห้ามเผา ทุกชนิด ไม่ใช้เตาถ่านปรุงประกอบอาหาร
การเรียนรู้
  1. จัดหาสื่อความรู้เกี่ยวกับฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนและการป้องกันตนเอง สําหรับนักเรียน นักศึกษา เพื่อใช้ในการเรียน การสอนในรปู แบบต่าง ๆ เช่น วิดีโอแอนิเมชัน โปสเตอร์ แผ่นพับ อินโฟกราฟิกคู่มือเป็นต้นโดยคํานึงถึงกลุ่มนักเรียนนักศึกษา
  2. บูรณาการกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาในการเรียนการสอนปกติ เช่น โครงงานส่งเสริมสุขภาพ การฝึกทักษะในการป้องกันตนเอง
  3. สื่อสารประชาสัมพันธ์การปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันตนเอง สําหรับ นักเรียน นักศึกษา ในรูปแบบเสียงตามสาย บอร์ดประชาสัมพันธ์
การครอบคลุมนักเรียนนักศึกษาทั้ง นักเรียนนักศึกษา ที่มีความบกพร่องทาง สติปัญญา บกพร่องทางการเรียนรู้ บกพร่องด้านพฤติกรรมอารมณ์ บกพร่องทางการได้ยิน บกพร่องทางการพูด มี ภาวะสมาธิสั้นและเด็ก ออทิสติก รวมถึงนักเรียน นักศึกษาในพื้นที่ห่างไกล
  1. จัดหาสื่อสร้างความเข้าใจเรื่องฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน และแนวทางการดูแลตัวเอง โดยคํานึงถึงข้อจํากัดของนักเรียน นักศึกษา
  2. ปรับรูปแบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทการเข้าถึง การเรียนรู้
สวัสดิภาพและการคุ้มครอง
  1. จัดเตรียมแผนรองรับด้านการเรียนการสอนในช่วงที่สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน อยู่ในระดับที่มีผลกระทบต่อ สุขภาพของนักเรียน นักศึกษา
  2. เฝ้าระวังสุขภาพของนักเรียน นักศึกษาและจัดทําทะเบียนนักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยงเพื่อดูแลอย่างใกล้ชิด
  3. เตรียมความพร้อมของห้องพยาบาล เวชภัณฑ์ จัดเตรียมห้อง ปลอดฝุ่นสําหรับเด็กที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง
นโยบาย
  1. กําหนดนโยบายและมาตรการในการจัดการฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน เพื่อลดและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพและ ประกาศนโยบายให้ทราบอย่างทั่วกันและถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เช่น การจัดการด้านความสะอาด รถโรงเรียนไร้ควันดํา การชี้แจงบุคลากรร่วมกันลดหรือเลี่ยงกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองเพิ่ม รวมทั้งจัดโครงการร่วมระหว่างสถานศึกษากับชุมชน
  2. จัดอบรมครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน รวมถึงชี้แจงมาตรการในการจัดการปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน
  3. กําหนดบทบาทหน้าที่ โดยมอบหมายครู ครูอนามัย ทําหน้าที่สังเกตอาการของนักเรียน นักศึกษา ปฐมพยาบาลเบื้องต้นรวมทั้ง มีช่องทางประสานงานกับโรงพยาบาลเพื่อส่งต่อนักเรียน นักศึกษา ในกรณีฉุกเฉินหรือมีอาการรุนแรง
  4. แต่งตั้งแกนนํานักเรียน นักศึกษา เพื่อเป็นอาสาสมัครช่วยดูแล สุขภาพของเพื่อนนักเรียนนักศึกษา
  5. สื่อสารทําความเข้าใจกับผู้ปกครองและนักเรียน นักศึกษา เกี่ยวกับมาตรการในการดูแลและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ผ่านการประชุม ผู้ปกครอง หรือช่องทางติดต่ออื่น
  6. ประเมินมาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนใน ระยะเตรียมการก่อนเกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน
  7. เตรียมความพร้อมระบบการกํากับ ติดตามให้มีการดําเนินงานตาม มาตรการ เพื่อป้องกันการเกิดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน อย่างเคร่งครัด
การบริหารการเงิน
  1. พิจารณาการใช้งบประมาณของสถานศึกษาสําหรับกิจกรรมการ ป้องกันการเกิดและการป้องกันฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน2.5 ไมครอน ตามความจําเป็นและเหมาะสม
  2. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ป้องกันฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน สําหรับนักเรียน นักศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษา เช่นหน้ากากป้องกันฝุ่น เป็นต้น (ถ้ามี)

แนวทางการปฏิบัติระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเกิดสถานการณ์ฝุ่นควัน

เมื่อช่วงที่สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน อยู่ในระดับที่เกินมาตรฐานและอาจจะมี ผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน นักศึกษา (PM2.5 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่ามากกว่า 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์ เมตร (มคก./ลบ.ม.)) โดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอน จึงกําหนดให้มีแนวปฏิบัติระหว่างเปิดภาคเรียน ในระยะเกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน โดยแบ่งเป็นแนวทางทางการปฏิบัติ สําหรับผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้อํานวยการสถานศึกษา ครู/ผู้ดูแล นักเรียน นักศึกษา นักเรียน นักศึกษา/แกนนํานักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ดังนี้

แนวทางการปฏิบัติสําหรับผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้อํานวยการสถานศึกษา

  1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการป้องกันฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอน
  2. สื่อสารประชาสัมพันธ์การลดและป้องกันฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอนเกี่ยวกับนโยบายมาตรการแนวปฏิบัติ ให้แก่ครู นักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง รวมถึงบุคลากรภายในสถานศึกษา
  3. มีมาตรการในการจัดการฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอนเพื่อลดและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ โดยถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เช่น การจัดการด้านความสะอาด รถโรงเรียนไร้ควันดํา บุคลากรภายใน สถานศึกษาลดหรือเลี่ยงกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองเพิ่มรวมทั้งจัดเตรียมห้องปลอดฝุ่นสําหรับเด็กที่มีความเสี่ยง เช่น มีโรคประจําตัว เป็นต้น
  4. มีการกํากับติดตามการดําเนินงานตามมาตรการเพื่อป้องกันการเกิดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนอย่างเคร่งครัด
  5. กรณีที่ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เกินมาตรฐานสถานศึกษาควรมีมาตรการที่เข้มงวดยิ่งขึ้น ตามระดับความเข้มข้นของสถานการณ์ PM2.5 ทั้งนี้ อาจมีการพิจารณาการปิด สถานศึกษาความความเหมาะสมและดุลยพินิจของผู้บริหาร โดยอาจพิจารณาจากองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ลักษณะและสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา และ สถานการณ์ด้านสุขภาพ รายละเอียดดังนี้
    1. สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก
      • ระดับ PM2.5 มากกว่าหรือเท่ากับ 91 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ติดต่อกัน 3 วันและมีแนวโน้มที่ จะเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง หรือ
      • ระดับ PM2.5 มากกว่าหรือเท่ากับ 151 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
    2. ลักษณะและสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา เช่น อยู่ใกล้แหล่งกําเนิดของฝุ่นละออง ลักษณะอาคาร เรียนเป็นอาคารมีลักษณะเปิดโล่ง ไม่มีห้องที่สามารถจัดการให้นักเรียน นักศึกษาอยู่ในห้องปิดได้ ไม่ มีต้นไม้รอบ ๆ บริเวณสถานศึกษา ที่สามารถดักฝุ่นละอองได้ เป็นต้น
    3. สถานการณ์ด้านสุขภาพ เช่น มีนักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษาที่มีอาการท่ีอาจเกี่ยวข้องกับการรับ สัมผัสฝุ่น PM2.5 เช่น แสบตา ตาแดง ผื่นแดง คันตามผิวหนัง ไอ หายใจลําบาก แสบจมูก เลือดกําเดา ไหล จํานวน 10 รายขึ้นไป

ทั้งนี้ อาจพิจารณายกเลิกการเรียนการสอนในระดับชั้นอนุบาลก่อน และหากสถานการณ์ PM2.5 ยังไม่ลดลงให้พิจารณายกเลิกการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ตามลําดับ

แนวทางการปฏิบัติสําหรับครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา

  1. ติดตามสถานการณ์ PM2.5 ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตามช่องทางต่าง ๆ ทุกวันเพื่อหาทางป้องกันให้กับนักเรียน นักศึกษา
  2. สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาทุกวัน และ สังเกตอาการนักเรียน นักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้าง ดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที
  3. ควรดูแลเด็กนักเรียน นักศึกษาที่มีโรคประจําตัวอย่างใกล้ชิด หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก ให้รีบพาไปพบแพทย์
  4. ควรดูแลเด็กให้หลีกเลี่ยงการทํากิจกรรมนอกอาคารในช่วงที่ PM2.5 อยู่ในระดับตั้งแต่สีเขียว (26 - 37 มคก./ลบ.ม.) ขึ้นไป เช่น การเข้าแถวหน้าเสาธง การออกกําลังกายกลางแจ้ง
  5. จัดเตรียมสํารองหน้ากากป้องกันฝุ่นในสถานศึกษาให้พร้อม
  6. ปิดประตูหน้าต่างให้มิดชิดเพื่อป้องกันฝุ่นละออง
  7. งดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด PM2.5 เช่น การเผาใบไม้ เผาขยะ เป็นต้น
  8. ขอความร่วมมือผู้ปกครองจอดรถรับ-ส่งนอกสถานศึกษาหากจําเป็นต้องนํารถเข้ามาจอดให้ดับเครื่องยนต์ขณะจอดรถ
  9. ขอความร่วมมือร้านค้าแผงลอยปิ้งย่างโดยใช้เตาไร้ควัน
  10. ปลูกต้นไม้บริเวณสถานศึกษา หรือจัดสวนแนวต้ัง เพื่อดักฝุ่นละอองและมลพิษอากาศ

แนวทางการปฏิบัติสําหรับนักเรียน นักศึกษา/แกนนํานักเรียน นักศึกษา

  1. สวมหน้ากากป้องกันฝุ่นทุกคร้ังเมื่ออยู่ในท่ีโล่งแจ้ง
  2. ควรเปลี่ยนหน้ากากอนามัยอันใหม่ทุกวันและทิ้งเมื่อพบว่าหน้ากากชํารุดหรือภายในหน้ากากสกปรก
  3. หากค่าฝุ่นสูงให้งดการทํากิจกรรมนอกอาคารเรียนหรืออยู่นอกห้องเรียนให้น้อยท่ีสุด
  4. สังเกตอาการตนเอง หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก รีบแจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา หรือไปห้องพยาบาล
  5. จัดเวรทําความสะอาดห้องเรียนเพื่อลดการสะสมของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน
  6. แกนนํานักเรียนนักศึกษาเป็นนักเรียนนักศึกษาอาสาสมัครช่วยดูแลสุขภาพเพื่อนนักเรียนนักศึกษามีบทบาทหน้าท่ีดังนี้
    1. ติดตามสถานการณ์ PM2.5 ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตามช่องทางต่าง ๆ
    2. เฝ้าระวังสังเกตอาการของเพื่อนนักเรียน นักศึกษา หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก ให้รีบแจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา หรือพาไปห้องพยาบาล
    3. ตรวจดูความเรียบร้อยของเพื่อนนักเรียน นักศึกษา ต้องสวมหน้ากากป้องกันฝุ่น หากพบนักเรียนนักศึกษาไม่ได้สวมหน้ากากป้องกันฝุ่น ให้แจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา เพื่อจัดหาหน้ากากสํารองให้สวมใส่
    4. จัดกิจกรรมสื่อสารให้ความรู้คําแนะนําในการดูแลและป้องกันตนเองแก่เพื่อนนักเรียน นักศึกษา เช่นบอร์ดประชาสัมพันธ์ มุมความรู้ ป้ายแนะนําต่าง ๆ เป็นต้น
    5. จัดเวรทําความสะอาดห้องเรียนท่ีใช้ร่วมกัน เพื่อลดการสะสมของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน
    6. สอดส่องกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่น PM2.5 เช่น ติดเครื่องยนต์ขณะจอด เผาขยะ ใช้เตาถ่านปรุงประกอบอาหาร หากพบกิจกรรมดังกล่าวให้แจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา
    7. เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน เช่น สวมหน้ากากป้องกันฝุ่นเมื่อออกนอกอาคาร โดยถือปฏิบัติเป็นสุขนิสัยกิจวัตรประจําวันอย่างสม่ำเสมอ

แนวทางการปฏิบัติสําหรับผู้ปกครอง

  1. ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลควรติดตามสถานการณ์ PM2.5 ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตาม ช่องทางต่าง ๆ
  2. ควรดูแลเด็กให้หลีกี่ยงการทํากิจกรรมนอกบ้านในช่วงท่ี PM2.5 อยู่ในระดับตั้งแต่สีเขียว (26 - 37 มคก./ลบ.ม.) ขึ้นไป หากจําเป็นให้ใส่หน้ากากอนามัยป้องกันและอยู่นอกอาคารเท่าท่ีจําเป็น
  3. จัดหาหน้ากากอนามัยที่ป้องกันฝุ่น PM2.5 ท่ีเหมาะสําหรับเด็กไว้ท่ีบ้าน
  4. ให้เด็กสวมหน้ากากอนามัยหากต้องออกนอกอาคารขณะท่ีเดินทางเป็นต้น
  5. ควรให้เด็กดื่มน้ําสะอาดให้เพียงพอ 8-10 แก้วต่อวัน
  6. ควรปิดประตูหน้าต่างให้มิดชิดและเปิดพัดลมให้อากาศหมุนเวียน
  7. ปลูกต้นไม้บริเวณบ้านเพื่อดักฝุ่นละอองและมลพิษทางอากาศ
  8. ลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด PM2.5 เช่น จุดธูป เผากระดาษเงินกระดาษทอง ปิ้งย่างที่ทําให้เกิดควัน การเผาใบไม้ เผาขยะ เป็นต้น
  9. ไม่จอดรถและติดเครื่องยนต์เป็นเวลานานในบริเวณบ้าน
  10. สังเกตอาการบุตรหลาน โดยเฉพาะเด็กที่มีโรคประจําตัวอย่างใกล้ชิด หากมีอาการไอจามผิดปกติ น้ํามูกไหล หายใจลําบาก ให้รีบไปพบแพทย์ทันที

มาตรการในการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ สําหรับสถานศึกษาตามระดับความเสี่ยง

ระดับ PM2.5 (มคก./ลบ.ม.) มาตรการสําหรับสถานศึกษา
0–25

ดีมาก

นักเรียน นักศึกษาทุกคน : ทํากิจกรรมได้ตามปกติ
26-37

ดี

  1. นักเรียน นักศึกษาทุกคน : ทํากิจกรรมได้ตามปกติ
  2. นักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ เช่น หอบหืด : ให้พิจารณาลดการเรียนพลศึกษาและกิจกรรมกลางแจ้ง
38-50

ปานกลาง

  1. นักเรียน นักศึกษาทุกคน : ลดการทํากิจกรรมนอกอาคาร
  2. นักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ เช่น หอบหืด : ให้พิจารณายกเว้นการเรียนพลศึกษาและกิจกรรมกลางแจ้ง

ครู : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาทุกเช้า และสังเกตอาการนักเรียนนักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคือง ตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที

51-90

เริ่มมีผลกระทบต่อ สุขภาพ

  1. นักเรียน นักศึกษาทุกคน : ควรเรียนในชั้นเรียน สําหรับกิจกรรมกลางแจ้งอื่นๆ อาจจะได้รับการพิจารณายกเลิกตามความเหมาะสม
  2. นักเรียนชั้นอนุบาล :
    1. ให้เรียนในห้องเรียนที่จัดเป็นห้องปลอดฝุ่น เข้าแถวในชั้นเรียน
    2. ยกเลิกการออกกําลังกายกลางแจ้ง
    3. สําหรับกิจกรรมกลางแจ้งอื่นๆ และอาจจะได้รับการพิจารณายกเลิกตามความเหมาะสม
  3. นักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ เช่น หอบหืด ควรให้อยู่ภายในอาคารในห้องปลอดฝุ่น งดการออกกําลังกาย กลางแจ้ง และต้องได้รับการดูแลจากครูอย่างใกล้ชิด

ครู : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงเช้า / บ่าย และสังเกตอาการนักเรียน นักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแล อย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที

91 ขึ้นไป

มีผลกระทบต่อ สุขภาพ

  1. นักเรียน นักศึกษาทุกคน :
    1. ควรอยู่ภายในอาคาร หรือห้องเรียน และปิดประตูและหน้าต่างให้สนิท
    2. ลดระยะเวลาการทํากิจกรรมกลางแจ้ง เช่น การเข้าแถวหน้าเสาธง และการออกกําลังกายกลางแจ้ง นักเรียน นักศึกษาสามารถออกมาพักในช่วงพักระหว่างคาบเรียนหรือพักกลางวันได้ แต่ไม่ควรอยู่กลางแจ้งเป็นเวลานาน
  2. เด็กเรียนชั้นอนุบาลและนักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ:
    1. ควรอยู่ภายในอาคาร หรือห้องเรียนที่มีประตูและหน้าต่างปิดสนิท หรือห้องปลอดฝุ่นที่มีเครื่องปรับอากาศ/เครื่องฟอกอากาศ
    2. งดการทํากิจกรรมหรือออกกําลังกาย
    3. ต้องได้รับการดูแลจากครูอย่างใกล้ชิด

ครู : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงเช้า/ เที่ยง/ บ่าย และสังเกตอาการนักเรียน นักศึกษาหากมีอาการ ผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที

สื่อเพิ่มเติม