มาตรการป้องกันตัวจากฝุ่นควัน: Difference between revisions
No edit summary |
|||
(4 intermediate revisions by the same user not shown) | |||
Line 52: | Line 52: | ||
|} | |} | ||
==แนวทางการปฏิบัติระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเกิดสถานการณ์ฝุ่นควัน== | ==แนวทางการปฏิบัติระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเกิดสถานการณ์ฝุ่นควัน== | ||
เมื่อช่วงที่สถานการณ์[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] อยู่ในระดับที่[[ดัชนีคุณภาพอากาศ|เกินมาตรฐาน]]และอาจจะมี ผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน นักศึกษา ([[PM2.5|PM2.5]] เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่ามากกว่า 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์ เมตร (มคก./ลบ.ม.)) โดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจาก[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] จึงกําหนดให้มีแนวปฏิบัติระหว่างเปิดภาคเรียน | เมื่อช่วงที่สถานการณ์[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] อยู่ในระดับที่[[ดัชนีคุณภาพอากาศ|เกินมาตรฐาน]]และอาจจะมี ผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน นักศึกษา ([[PM2.5|PM2.5]] เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่ามากกว่า 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์ เมตร (มคก./ลบ.ม.)) โดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจาก[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] จึงกําหนดให้มีแนวปฏิบัติระหว่างเปิดภาคเรียน ในระยะเกิดปัญหา[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] โดยแบ่งเป็นแนวทางทางการปฏิบัติ สําหรับผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้อํานวยการสถานศึกษา ครู/ผู้ดูแล นักเรียน นักศึกษา นักเรียน นักศึกษา/แกนนํานักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ดังนี้ | ||
===แนวทางการปฏิบัติสําหรับผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้อํานวยการสถานศึกษา=== | ===แนวทางการปฏิบัติสําหรับผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้อํานวยการสถานศึกษา=== | ||
Line 69: | Line 69: | ||
===แนวทางการปฏิบัติสําหรับครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา=== | ===แนวทางการปฏิบัติสําหรับครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา=== | ||
#ติดตามสถานการณ์ PM2.5 ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตามช่องทางต่าง ๆ ทุกวันเพื่อหาทางป้องกันให้กับนักเรียน นักศึกษา | #ติดตามสถานการณ์ [[PM2.5|PM2.5]] ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตามช่องทางต่าง ๆ ทุกวันเพื่อหาทางป้องกันให้กับนักเรียน นักศึกษา | ||
# | #สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและ[[การป้องกันตัวจากฝุ่นควัน|วิธีการป้องกันตนเอง]]แก่นักเรียน นักศึกษาทุกวัน และ สังเกตอาการนักเรียน นักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้าง ดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที | ||
#ควรดูแลเด็กนักเรียน นักศึกษาที่มีโรคประจําตัวอย่างใกล้ชิด หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก ให้รีบพาไปพบแพทย์ | #ควรดูแลเด็กนักเรียน นักศึกษาที่มีโรคประจําตัวอย่างใกล้ชิด หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก ให้รีบพาไปพบแพทย์ | ||
#ควรดูแลเด็กให้หลีกเลี่ยงการทํากิจกรรมนอกอาคารในช่วงที่ PM2.5 อยู่ในระดับตั้งแต่สีเขียว (26 - 37 มคก./ลบ.ม.) ขึ้นไป เช่น การเข้าแถวหน้าเสาธง การออกกําลังกายกลางแจ้ง | #ควรดูแลเด็กให้หลีกเลี่ยงการทํากิจกรรมนอกอาคารในช่วงที่ [[PM2.5|PM2.5]] อยู่ในระดับตั้งแต่สีเขียว (26 - 37 มคก./ลบ.ม.) ขึ้นไป เช่น การเข้าแถวหน้าเสาธง การออกกําลังกายกลางแจ้ง | ||
# | #จัดเตรียมสํารอง[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากป้องกันฝุ่น]]ในสถานศึกษาให้พร้อม | ||
# | #[[ห้องปลอดฝุ่น|ปิดประตูหน้าต่างให้มิดชิด]]เพื่อป้องกัน[[PM2.5|ฝุ่นละออง]] | ||
#งดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด PM2.5 เช่น การเผาใบไม้ เผาขยะ เป็นต้น | #งดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด [[PM2.5|PM2.5]] เช่น การเผาใบไม้ เผาขยะ เป็นต้น | ||
#ขอความร่วมมือผู้ปกครองจอดรถรับ-ส่งนอกสถานศึกษาหากจําเป็นต้องนํารถเข้ามาจอดให้ดับเครื่องยนต์ขณะจอดรถ | #ขอความร่วมมือผู้ปกครองจอดรถรับ-ส่งนอกสถานศึกษาหากจําเป็นต้องนํารถเข้ามาจอดให้ดับเครื่องยนต์ขณะจอดรถ | ||
#ขอความร่วมมือร้านค้าแผงลอยปิ้งย่างโดยใช้เตาไร้ควัน | #ขอความร่วมมือร้านค้าแผงลอยปิ้งย่างโดยใช้เตาไร้ควัน | ||
Line 81: | Line 81: | ||
===แนวทางการปฏิบัติสําหรับนักเรียน นักศึกษา/แกนนํานักเรียน นักศึกษา=== | ===แนวทางการปฏิบัติสําหรับนักเรียน นักศึกษา/แกนนํานักเรียน นักศึกษา=== | ||
# | #สวม[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากป้องกันฝุ่น]]ทุกคร้ังเมื่ออยู่ในท่ีโล่งแจ้ง | ||
# | #ควรเปลี่ยน[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากอนามัย]]อันใหม่ทุกวันและทิ้งเมื่อพบว่า[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากาก]]ชํารุดหรือภายใน[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากาก]]สกปรก | ||
# | #หาก[[ดัชนีคุณภาพอากาศ|ค่าฝุ่นสูง]]ให้งดการทํากิจกรรมนอกอาคารเรียนหรืออยู่นอกห้องเรียนให้น้อยท่ีสุด | ||
#สังเกตอาการตนเอง หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก รีบแจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา หรือไปห้องพยาบาล | #สังเกตอาการตนเอง หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก รีบแจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา หรือไปห้องพยาบาล | ||
# | #จัดเวรทําความสะอาดห้องเรียนเพื่อลดการสะสมของ[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] | ||
#แกนนํานักเรียนนักศึกษาเป็นนักเรียนนักศึกษาอาสาสมัครช่วยดูแลสุขภาพเพื่อนนักเรียนนักศึกษามีบทบาทหน้าท่ีดังนี้ | #แกนนํานักเรียนนักศึกษาเป็นนักเรียนนักศึกษาอาสาสมัครช่วยดูแลสุขภาพเพื่อนนักเรียนนักศึกษามีบทบาทหน้าท่ีดังนี้ | ||
##ติดตามสถานการณ์ PM2.5 ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตามช่องทางต่าง ๆ | ##ติดตามสถานการณ์ [[PM2.5|PM2.5]] ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตามช่องทางต่าง ๆ | ||
##เฝ้าระวังสังเกตอาการของเพื่อนนักเรียน นักศึกษา หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก ให้รีบแจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา หรือพาไปห้องพยาบาล | ##เฝ้าระวังสังเกตอาการของเพื่อนนักเรียน นักศึกษา หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก ให้รีบแจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา หรือพาไปห้องพยาบาล | ||
##ตรวจดูความเรียบร้อยของเพื่อนนักเรียน นักศึกษา | ##ตรวจดูความเรียบร้อยของเพื่อนนักเรียน นักศึกษา ต้องสวม[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากป้องกันฝุ่น]] หากพบนักเรียนนักศึกษาไม่ได้สวม[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากป้องกันฝุ่น]] ให้แจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา เพื่อจัดหา[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากาก]]สํารองให้สวมใส่ | ||
## | ##จัดกิจกรรมสื่อสารให้ความรู้คําแนะนําในการ[[การป้องกันตัวจากฝุ่นควัน|ดูแลและป้องกันตนเอง]]แก่เพื่อนนักเรียน นักศึกษา เช่นบอร์ดประชาสัมพันธ์ มุมความรู้ ป้ายแนะนําต่าง ๆ เป็นต้น | ||
##จัดเวรทําความสะอาดห้องเรียนท่ีใช้ร่วมกัน | ##จัดเวรทําความสะอาดห้องเรียนท่ีใช้ร่วมกัน เพื่อลดการสะสมของ[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] | ||
##สอดส่องกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่น PM2.5 เช่น ติดเครื่องยนต์ขณะจอด เผาขยะ ใช้เตาถ่านปรุงประกอบอาหาร หากพบกิจกรรมดังกล่าวให้แจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา | ##สอดส่องกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่น [[PM2.5|PM2.5]] เช่น ติดเครื่องยนต์ขณะจอด เผาขยะ ใช้เตาถ่านปรุงประกอบอาหาร หากพบกิจกรรมดังกล่าวให้แจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา | ||
## | ##เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกัน[[PM2.5|ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน]] เช่น สวม[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากป้องกันฝุ่น]]เมื่อออกนอกอาคาร โดยถือปฏิบัติเป็นสุขนิสัยกิจวัตรประจําวันอย่างสม่ำเสมอ | ||
===แนวทางการปฏิบัติสําหรับผู้ปกครอง=== | ===แนวทางการปฏิบัติสําหรับผู้ปกครอง=== | ||
#ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลควรติดตามสถานการณ์ PM2.5 ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตาม ช่องทางต่าง ๆ | #ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลควรติดตามสถานการณ์ [[PM2.5|PM2.5]] ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตาม ช่องทางต่าง ๆ | ||
#ควรดูแลเด็กให้หลีกี่ยงการทํากิจกรรมนอกบ้านในช่วงท่ี PM2.5 อยู่ในระดับตั้งแต่สีเขียว (26 - 37 มคก./ลบ.ม.) ขึ้นไป | #ควรดูแลเด็กให้หลีกี่ยงการทํากิจกรรมนอกบ้านในช่วงท่ี [[PM2.5|PM2.5]] อยู่ในระดับตั้งแต่สีเขียว (26 - 37 มคก./ลบ.ม.) ขึ้นไป หากจําเป็นให้ใส่[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากอนามัย]]ป้องกันและอยู่นอกอาคารเท่าท่ีจําเป็น | ||
# | #จัดหา[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากอนามัย]]ที่ป้องกันฝุ่น [[PM2.5|PM2.5]] ท่ีเหมาะสําหรับเด็กไว้ท่ีบ้าน | ||
# | #ให้เด็กสวม[[หน้ากากป้องกันฝุ่น|หน้ากากอนามัย]]หากต้องออกนอกอาคารขณะท่ีเดินทางเป็นต้น | ||
#ควรให้เด็กดื่มน้ําสะอาดให้เพียงพอ 8-10 แก้วต่อวัน | #ควรให้เด็กดื่มน้ําสะอาดให้เพียงพอ 8-10 แก้วต่อวัน | ||
# | #ควร[[ห้องปลอดฝุ่น|ปิดประตูหน้าต่างให้มิดชิด]]และเปิดพัดลมให้อากาศหมุนเวียน | ||
# | #ปลูกต้นไม้บริเวณบ้านเพื่อดัก[[PM2.5|ฝุ่นละออง]]และ[[มลภาวะทางอากาศ|มลพิษทางอากาศ]] | ||
#ลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด PM2.5 เช่น จุดธูป เผากระดาษเงินกระดาษทอง ปิ้งย่างที่ทําให้เกิดควัน การเผาใบไม้ เผาขยะ เป็นต้น | #ลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด [[PM2.5|PM2.5]] เช่น จุดธูป เผากระดาษเงินกระดาษทอง ปิ้งย่างที่ทําให้เกิดควัน การเผาใบไม้ เผาขยะ เป็นต้น | ||
#ไม่จอดรถและติดเครื่องยนต์เป็นเวลานานในบริเวณบ้าน | #ไม่จอดรถและติดเครื่องยนต์เป็นเวลานานในบริเวณบ้าน | ||
#สังเกตอาการบุตรหลาน โดยเฉพาะเด็กที่มีโรคประจําตัวอย่างใกล้ชิด หากมีอาการไอจามผิดปกติ น้ํามูกไหล หายใจลําบาก ให้รีบไปพบแพทย์ทันที | #สังเกตอาการบุตรหลาน โดยเฉพาะเด็กที่มีโรคประจําตัวอย่างใกล้ชิด หากมีอาการไอจามผิดปกติ น้ํามูกไหล หายใจลําบาก ให้รีบไปพบแพทย์ทันที | ||
Line 124: | Line 124: | ||
||<ol><li>'''นักเรียน นักศึกษาทุกคน''' : ลดการทํากิจกรรมนอกอาคาร</li> | ||<ol><li>'''นักเรียน นักศึกษาทุกคน''' : ลดการทํากิจกรรมนอกอาคาร</li> | ||
<li>'''นักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ เช่น หอบหืด''' : ให้พิจารณายกเว้นการเรียนพลศึกษาและกิจกรรมกลางแจ้ง</li></ol> | <li>'''นักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ เช่น หอบหืด''' : ให้พิจารณายกเว้นการเรียนพลศึกษาและกิจกรรมกลางแจ้ง</li></ol> | ||
'''ครู''' : | '''ครู''' : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์[[มลภาวะทางอากาศ|มลพิษทางอากาศ]]และวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาทุกเช้า และสังเกตอาการนักเรียนนักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคือง ตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที | ||
|- | |- | ||
|'''51-90''' | |'''51-90''' | ||
'''เริ่มมีผลกระทบต่อ สุขภาพ''' | '''เริ่มมีผลกระทบต่อ สุขภาพ''' | ||
||<ol><li>'''นักเรียน นักศึกษาทุกคน''' : ควรเรียนในชั้นเรียน สําหรับกิจกรรมกลางแจ้งอื่นๆ อาจจะได้รับการพิจารณายกเลิกตามความเหมาะสม</li> | ||<ol><li>'''นักเรียน นักศึกษาทุกคน''' : ควรเรียนในชั้นเรียน สําหรับกิจกรรมกลางแจ้งอื่นๆ อาจจะได้รับการพิจารณายกเลิกตามความเหมาะสม</li> | ||
<li>'''นักเรียนชั้นอนุบาล''' : <ol><li> | <li>'''นักเรียนชั้นอนุบาล''' : <ol><li>ให้เรียนในห้องเรียนที่จัดเป็น[[ห้องปลอดฝุ่น|ห้องปลอดฝุ่น]] เข้าแถวในชั้นเรียน</li> | ||
<li>ยกเลิกการออกกําลังกายกลางแจ้ง</li> | <li>ยกเลิกการออกกําลังกายกลางแจ้ง</li> | ||
<li>สําหรับกิจกรรมกลางแจ้งอื่นๆ และอาจจะได้รับการพิจารณายกเลิกตามความเหมาะสม</li></ol> | <li>สําหรับกิจกรรมกลางแจ้งอื่นๆ และอาจจะได้รับการพิจารณายกเลิกตามความเหมาะสม</li></ol> | ||
<li>'''นักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ''' เช่น หอบหืด | <li>'''นักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ''' เช่น หอบหืด ควรให้อยู่ภายในอาคารใน[[ห้องปลอดฝุ่น|ห้องปลอดฝุ่น]] งดการออกกําลังกาย กลางแจ้ง และต้องได้รับการดูแลจากครูอย่างใกล้ชิด</li></ol> | ||
'''ครู''' : | '''ครู''' : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์[[มลภาวะทางอากาศ|มลพิษทางอากาศ]]และวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงเช้า / บ่าย และสังเกตอาการนักเรียน นักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแล อย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที | ||
|- | |- | ||
|'''91 ขึ้นไป''' | |'''91 ขึ้นไป''' | ||
Line 141: | Line 141: | ||
<li>ลดระยะเวลาการทํากิจกรรมกลางแจ้ง เช่น การเข้าแถวหน้าเสาธง และการออกกําลังกายกลางแจ้ง นักเรียน นักศึกษาสามารถออกมาพักในช่วงพักระหว่างคาบเรียนหรือพักกลางวันได้ แต่ไม่ควรอยู่กลางแจ้งเป็นเวลานาน</li></ol> | <li>ลดระยะเวลาการทํากิจกรรมกลางแจ้ง เช่น การเข้าแถวหน้าเสาธง และการออกกําลังกายกลางแจ้ง นักเรียน นักศึกษาสามารถออกมาพักในช่วงพักระหว่างคาบเรียนหรือพักกลางวันได้ แต่ไม่ควรอยู่กลางแจ้งเป็นเวลานาน</li></ol> | ||
<li>'''เด็กเรียนชั้นอนุบาลและนักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ:''' | <li>'''เด็กเรียนชั้นอนุบาลและนักเรียน นักศึกษาที่ป่วยด้วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ:''' | ||
<ol><li>ควรอยู่ภายในอาคาร หรือห้องเรียนที่มีประตูและหน้าต่างปิดสนิท | <ol><li>ควรอยู่ภายในอาคาร หรือห้องเรียนที่มีประตูและหน้าต่างปิดสนิท หรือ[[ห้องปลอดฝุ่น|ห้องปลอดฝุ่น]]ที่มีเครื่องปรับอากาศ/เครื่องฟอกอากาศ</li> | ||
<li>งดการทํากิจกรรมหรือออกกําลังกาย</li> | <li>งดการทํากิจกรรมหรือออกกําลังกาย</li> | ||
<li>ต้องได้รับการดูแลจากครูอย่างใกล้ชิด</li></ol></ol> | <li>ต้องได้รับการดูแลจากครูอย่างใกล้ชิด</li></ol></ol> | ||
'''ครู''' : | '''ครู''' : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์[[มลภาวะทางอากาศ|มลพิษทางอากาศ]]และวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงเช้า/ เที่ยง/ บ่าย และสังเกตอาการนักเรียน นักศึกษาหากมีอาการ ผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที | ||
|} | |} | ||
==สื่อเพิ่มเติม== | ==สื่อเพิ่มเติม== | ||
*[https://www.youtube.com/watch?v=R6Yls2j1hi4&ab_channel=HealthImpactAssessmentHIA วิธีปฏิบัติเพื่อป้องกัน PM2.5] | *[https://www.youtube.com/watch?v=R6Yls2j1hi4&ab_channel=HealthImpactAssessmentHIA วิธีปฏิบัติเพื่อป้องกัน PM2.5] | ||
*[https://www.youtube.com/watch?v=8TBShTTyXfg&ab_channel=HealthImpactAssessmentHIA การป้องกันตัวจาก PM2.5 สำหรับกลุ่มเสี่ยง] | *[https://www.youtube.com/watch?v=8TBShTTyXfg&ab_channel=HealthImpactAssessmentHIA การป้องกันตัวจาก PM2.5 สำหรับกลุ่มเสี่ยง] | ||
*[https://www.youtube.com/watch?v=MrvpZnUFAvw&ab_channel=HealthImpactAssessmentHIA การออกกำลังกายในภาวะฝุ่น PM2.5] | *[https://www.youtube.com/watch?v=MrvpZnUFAvw&ab_channel=HealthImpactAssessmentHIA การออกกำลังกายในภาวะฝุ่น PM2.5] |
Latest revision as of 15:00, 14 June 2022
มาตรการป้องกันตัวจากฝุ่น[edit]
กรมอนามัยได้ประกาศมาตรการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดเล็กในบรรยากาศ โดยแบ่งตามสีไว้ดังนี้
ระดับ PM2.5 เฉลี่ย24 ชม. (มคก./ลบม.) | ระดับ | สีที่ใช้ | คำแนะนำในการปฏิบัติตนสำหรับประชาชน | |
---|---|---|---|---|
ประชาชนทั่วไป | เด็กเล็ก หญิงตั้งครรถ์ ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจำตัว | |||
0 - 25 | ดีมาก | ฟ้า | ทำกิจกรรมกลางแจ้งและท่องเที่ยวได้ตามปกติ | ทำกิจกรรมกลางแจ้งและท่องเที่ยวได้ตามปกติ |
26 - 37 | ดี | เขียว | ทำกิจกรรมกลางแจ้งและท่องเที่ยวได้ตามปกติ |
|
38 - 50 | ปานกลาง | เหลือง |
|
|
51 - 90 | เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ | ส้ม |
|
|
91 ขึ้นไป | มีผลกระทบต่อสุขภาพ | แดง |
|
|
มาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะก่อนเกิดปัญหาฝุ่นควัน[edit]
องค์การเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติและองค์กรภาคี ได้เสนอกรอบแนวทาง 6 มิติ เพื่อการเตรียมความ พร้อมก่อนเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา ได้แก่ การดําเนินงานเพื่อความปลอดภัย การเรียนรู้ การครอบคลุมถึง เด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการคุ้มครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน จึงมีแนวคิดในการสร้างความ เชื่อมโยงกับมาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเตรียมการก่อนเกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน อันจะเป็นการวางแผนที่จะช่วยสร้างเสริมความเข้มแข็งด้านการคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียน นักศึกษา
ความเชื่อมโยง 6 มิติกับมาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเตรียมการก่อนเกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ดังนี้
มิติ | มาตรการเตรียมความพร้อม |
---|---|
ความปลอดภัยจากการลดและป้องกัน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน2.5 ไมครอน |
|
การเรียนรู้ |
|
การครอบคลุมนักเรียนนักศึกษาทั้ง นักเรียนนักศึกษา ที่มีความบกพร่องทาง สติปัญญา บกพร่องทางการเรียนรู้ บกพร่องด้านพฤติกรรมอารมณ์ บกพร่องทางการได้ยิน บกพร่องทางการพูด มี ภาวะสมาธิสั้นและเด็ก ออทิสติก รวมถึงนักเรียน นักศึกษาในพื้นที่ห่างไกล |
|
สวัสดิภาพและการคุ้มครอง |
|
นโยบาย |
|
การบริหารการเงิน |
|
แนวทางการปฏิบัติระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเกิดสถานการณ์ฝุ่นควัน[edit]
เมื่อช่วงที่สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน อยู่ในระดับที่เกินมาตรฐานและอาจจะมี ผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน นักศึกษา (PM2.5 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่ามากกว่า 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์ เมตร (มคก./ลบ.ม.)) โดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอน จึงกําหนดให้มีแนวปฏิบัติระหว่างเปิดภาคเรียน ในระยะเกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน โดยแบ่งเป็นแนวทางทางการปฏิบัติ สําหรับผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้อํานวยการสถานศึกษา ครู/ผู้ดูแล นักเรียน นักศึกษา นักเรียน นักศึกษา/แกนนํานักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ดังนี้
แนวทางการปฏิบัติสําหรับผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้อํานวยการสถานศึกษา[edit]
- ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการป้องกันฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอน
- สื่อสารประชาสัมพันธ์การลดและป้องกันฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอนเกี่ยวกับนโยบายมาตรการแนวปฏิบัติ ให้แก่ครู นักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง รวมถึงบุคลากรภายในสถานศึกษา
- มีมาตรการในการจัดการฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอนเพื่อลดและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ โดยถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เช่น การจัดการด้านความสะอาด รถโรงเรียนไร้ควันดํา บุคลากรภายใน สถานศึกษาลดหรือเลี่ยงกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองเพิ่มรวมทั้งจัดเตรียมห้องปลอดฝุ่นสําหรับเด็กที่มีความเสี่ยง เช่น มีโรคประจําตัว เป็นต้น
- มีการกํากับติดตามการดําเนินงานตามมาตรการเพื่อป้องกันการเกิดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนอย่างเคร่งครัด
- กรณีที่ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เกินมาตรฐานสถานศึกษาควรมีมาตรการที่เข้มงวดยิ่งขึ้น ตามระดับความเข้มข้นของสถานการณ์ PM2.5 ทั้งนี้ อาจมีการพิจารณาการปิด สถานศึกษาความความเหมาะสมและดุลยพินิจของผู้บริหาร โดยอาจพิจารณาจากองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ลักษณะและสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา และ สถานการณ์ด้านสุขภาพ รายละเอียดดังนี้
- สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก
- ลักษณะและสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา เช่น อยู่ใกล้แหล่งกําเนิดของฝุ่นละออง ลักษณะอาคาร เรียนเป็นอาคารมีลักษณะเปิดโล่ง ไม่มีห้องที่สามารถจัดการให้นักเรียน นักศึกษาอยู่ในห้องปิดได้ ไม่ มีต้นไม้รอบ ๆ บริเวณสถานศึกษา ที่สามารถดักฝุ่นละอองได้ เป็นต้น
- สถานการณ์ด้านสุขภาพ เช่น มีนักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษาที่มีอาการท่ีอาจเกี่ยวข้องกับการรับ สัมผัสฝุ่น PM2.5 เช่น แสบตา ตาแดง ผื่นแดง คันตามผิวหนัง ไอ หายใจลําบาก แสบจมูก เลือดกําเดา ไหล จํานวน 10 รายขึ้นไป
ทั้งนี้ อาจพิจารณายกเลิกการเรียนการสอนในระดับชั้นอนุบาลก่อน และหากสถานการณ์ PM2.5 ยังไม่ลดลงให้พิจารณายกเลิกการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ตามลําดับ
แนวทางการปฏิบัติสําหรับครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา[edit]
- ติดตามสถานการณ์ PM2.5 ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตามช่องทางต่าง ๆ ทุกวันเพื่อหาทางป้องกันให้กับนักเรียน นักศึกษา
- สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาทุกวัน และ สังเกตอาการนักเรียน นักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้าง ดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที
- ควรดูแลเด็กนักเรียน นักศึกษาที่มีโรคประจําตัวอย่างใกล้ชิด หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก ให้รีบพาไปพบแพทย์
- ควรดูแลเด็กให้หลีกเลี่ยงการทํากิจกรรมนอกอาคารในช่วงที่ PM2.5 อยู่ในระดับตั้งแต่สีเขียว (26 - 37 มคก./ลบ.ม.) ขึ้นไป เช่น การเข้าแถวหน้าเสาธง การออกกําลังกายกลางแจ้ง
- จัดเตรียมสํารองหน้ากากป้องกันฝุ่นในสถานศึกษาให้พร้อม
- ปิดประตูหน้าต่างให้มิดชิดเพื่อป้องกันฝุ่นละออง
- งดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด PM2.5 เช่น การเผาใบไม้ เผาขยะ เป็นต้น
- ขอความร่วมมือผู้ปกครองจอดรถรับ-ส่งนอกสถานศึกษาหากจําเป็นต้องนํารถเข้ามาจอดให้ดับเครื่องยนต์ขณะจอดรถ
- ขอความร่วมมือร้านค้าแผงลอยปิ้งย่างโดยใช้เตาไร้ควัน
- ปลูกต้นไม้บริเวณสถานศึกษา หรือจัดสวนแนวต้ัง เพื่อดักฝุ่นละอองและมลพิษอากาศ
แนวทางการปฏิบัติสําหรับนักเรียน นักศึกษา/แกนนํานักเรียน นักศึกษา[edit]
- สวมหน้ากากป้องกันฝุ่นทุกคร้ังเมื่ออยู่ในท่ีโล่งแจ้ง
- ควรเปลี่ยนหน้ากากอนามัยอันใหม่ทุกวันและทิ้งเมื่อพบว่าหน้ากากชํารุดหรือภายในหน้ากากสกปรก
- หากค่าฝุ่นสูงให้งดการทํากิจกรรมนอกอาคารเรียนหรืออยู่นอกห้องเรียนให้น้อยท่ีสุด
- สังเกตอาการตนเอง หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก รีบแจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา หรือไปห้องพยาบาล
- จัดเวรทําความสะอาดห้องเรียนเพื่อลดการสะสมของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน
- แกนนํานักเรียนนักศึกษาเป็นนักเรียนนักศึกษาอาสาสมัครช่วยดูแลสุขภาพเพื่อนนักเรียนนักศึกษามีบทบาทหน้าท่ีดังนี้
- ติดตามสถานการณ์ PM2.5 ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตามช่องทางต่าง ๆ
- เฝ้าระวังสังเกตอาการของเพื่อนนักเรียน นักศึกษา หากพบว่ามีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลําบาก หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก ให้รีบแจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา หรือพาไปห้องพยาบาล
- ตรวจดูความเรียบร้อยของเพื่อนนักเรียน นักศึกษา ต้องสวมหน้ากากป้องกันฝุ่น หากพบนักเรียนนักศึกษาไม่ได้สวมหน้ากากป้องกันฝุ่น ให้แจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา เพื่อจัดหาหน้ากากสํารองให้สวมใส่
- จัดกิจกรรมสื่อสารให้ความรู้คําแนะนําในการดูแลและป้องกันตนเองแก่เพื่อนนักเรียน นักศึกษา เช่นบอร์ดประชาสัมพันธ์ มุมความรู้ ป้ายแนะนําต่าง ๆ เป็นต้น
- จัดเวรทําความสะอาดห้องเรียนท่ีใช้ร่วมกัน เพื่อลดการสะสมของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน
- สอดส่องกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่น PM2.5 เช่น ติดเครื่องยนต์ขณะจอด เผาขยะ ใช้เตาถ่านปรุงประกอบอาหาร หากพบกิจกรรมดังกล่าวให้แจ้งครู/ผู้ดูแลนักเรียน นักศึกษา
- เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน เช่น สวมหน้ากากป้องกันฝุ่นเมื่อออกนอกอาคาร โดยถือปฏิบัติเป็นสุขนิสัยกิจวัตรประจําวันอย่างสม่ำเสมอ
แนวทางการปฏิบัติสําหรับผู้ปกครอง[edit]
- ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลควรติดตามสถานการณ์ PM2.5 ในแอปพลิเคชัน Air4Thai หรือติดตามข่าวสารตาม ช่องทางต่าง ๆ
- ควรดูแลเด็กให้หลีกี่ยงการทํากิจกรรมนอกบ้านในช่วงท่ี PM2.5 อยู่ในระดับตั้งแต่สีเขียว (26 - 37 มคก./ลบ.ม.) ขึ้นไป หากจําเป็นให้ใส่หน้ากากอนามัยป้องกันและอยู่นอกอาคารเท่าท่ีจําเป็น
- จัดหาหน้ากากอนามัยที่ป้องกันฝุ่น PM2.5 ท่ีเหมาะสําหรับเด็กไว้ท่ีบ้าน
- ให้เด็กสวมหน้ากากอนามัยหากต้องออกนอกอาคารขณะท่ีเดินทางเป็นต้น
- ควรให้เด็กดื่มน้ําสะอาดให้เพียงพอ 8-10 แก้วต่อวัน
- ควรปิดประตูหน้าต่างให้มิดชิดและเปิดพัดลมให้อากาศหมุนเวียน
- ปลูกต้นไม้บริเวณบ้านเพื่อดักฝุ่นละอองและมลพิษทางอากาศ
- ลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด PM2.5 เช่น จุดธูป เผากระดาษเงินกระดาษทอง ปิ้งย่างที่ทําให้เกิดควัน การเผาใบไม้ เผาขยะ เป็นต้น
- ไม่จอดรถและติดเครื่องยนต์เป็นเวลานานในบริเวณบ้าน
- สังเกตอาการบุตรหลาน โดยเฉพาะเด็กที่มีโรคประจําตัวอย่างใกล้ชิด หากมีอาการไอจามผิดปกติ น้ํามูกไหล หายใจลําบาก ให้รีบไปพบแพทย์ทันที
มาตรการในการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ สําหรับสถานศึกษาตามระดับความเสี่ยง[edit]
ระดับ PM2.5 (มคก./ลบ.ม.) | มาตรการสําหรับสถานศึกษา |
---|---|
0–25
ดีมาก |
นักเรียน นักศึกษาทุกคน : ทํากิจกรรมได้ตามปกติ |
26-37
ดี |
|
38-50
ปานกลาง |
ครู : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาทุกเช้า และสังเกตอาการนักเรียนนักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคือง ตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที |
51-90
เริ่มมีผลกระทบต่อ สุขภาพ |
ครู : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงเช้า / บ่าย และสังเกตอาการนักเรียน นักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแล อย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที |
91 ขึ้นไป
มีผลกระทบต่อ สุขภาพ |
ครู : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงเช้า/ เที่ยง/ บ่าย และสังเกตอาการนักเรียน นักศึกษาหากมีอาการ ผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที |